Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               โดยที่  L  เปน คามัธยฐานการสูญเสียวิถีในเมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง และสําหรับในชนบทคามัธยฐานการ
                       p
               สูญเสียวิถี ( L ) จะเปนดังนี้
                           rur

                                                                   2
                                     L rur  ( dB ) = L p  −  . 4  78 [log 10 ( f 0 )] + 18 . 33 log f 0  − 40 . 94
                                                                              10
               โดยที่  L  คือคามัธยฐานการสูญเสียวิถีในเมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง ขอจํากัดเพียงอยางเดียวของแบบจําลอง
                       p
               Hata คือระยะทาง (d ) ระหวางสถานีฐานกับโทรศัพทมือถือจะตองเกิน กิโลเมตร
                                                                                   1

                     การสูญเสียวิถีโดยทั่วไปที่หาไดจากแบบจําลอง Hata แสดงอยูในรูปที่ 2-13 ที่ความถี่คลื่นพาห = 900
               MHz,  ความสูงสายอากาศของสถานีฐาน  150  เมตร  และความสูงสายอากาศของโทรศัพทมือถือ  1.5  เมตร
               สังเกตวา correction factor ระหวางเมืองใหญๆ กับเมืองขนาดเล็กถึงปานกลางตางกันอยูเพียงประมาณ  1

               dB เทานั้น ทําใหเสนโคงของกราฟสําหรับสองกรณีนี้ที่ปรากฏอยูใกลเคียงกันมาก



































                     รูปที่ 2-13 ความสูญเสียตามแบบจําลอง Hata ในสภาพแวดลอมสี่แบบแตกตางกัน (Shankar, 2002)


                     แบบจําลอง  Hata  สามารถนํามาใชประมาณหาคาของพารามิเตอรการสูญเสีย  v (loss parameter)

               สําหรับแบบจําลองการสูญเสียวิถีอยางงายไดจาก

                                                                  1   v
                                                         P ( d ∝)    
                                                          r
                                                                  d 
               โดยที่  v  เปน  Path  loss exponent  กําลังงานสูญเสียที่ระยะ  d   และ  d   (> 1  กิโลเมตร)  จะมี
                                                                          ref
               ความสัมพันธดังนี้









               หนา 24
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36