Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


























                     รูปที่ 2-8 สัญญาณมาถึงเครื่องรับผานเสนทางตรง การสะทอนกลับและการกระเจิง (Shankar, 2002)

























                      รูปที่ 2-9 สัญญาณที่ประกอบดวยเสนทางตรง, การสะทอนกลับ, การกระเจิง และการเลี้ยวเบน

                                                     (Shankar, 2002)



                     การสรางแบบจําลองทางกายภาพตองพิจารณาสัญญาณที่รับไดจากผลรวมของปรากฏการณตาง ๆ ใน
               การแพรกระจายของคลื่นดังกลาวขางตน เราพบวาแมแตกรณีที่งายที่สุดของการวิเคราะหเพื่อสรางแบบจําลอง
               การแพรกระจายทางกายภาพ ก็ยังตองอาศัยการคํานวณที่คอนขางซับซอน และใชเวลานาน จําเปนตองใช
               โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการคํานวณ ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงใชแบบจําลองการแพรกระจายทางกายภาพ

               เฉพาะบางกรณีที่ตองการความแมนยําสูง เฉพาะพื้นที่ หรือเพื่อศึกษาผลของสภาพแวดลอมตาง ๆ เชนอาคาร
               ความสูงต่ําของพื้นดิน ตนไม และอื่น ๆ  ที่มีตอการแพรกระจายของสัญญาณ สําหรับการสรางแบบจําลองยอย
               ๆ ตอไป สําหรับการระบบสื่อสารไรสายทั่วไป โดยสวนมากนิยมใชแบบจําลองทางสถิติซึ่งใหความสะดวกและ
               คาประมาณที่ใกลเคียงหากเลือกใชแบบจําลองที่เหมาะสม











                                                                                                   หนา 17
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29