Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    49



                   ใหบริการไดอยางรวดเร็ว  การสนับสนุนชิ้นสวนอะไหลและการบริการอยางทันทีเปนสิ่งที่สําคัญ

                   อยางที่สุด  ที่ในอดีตจัดใหเปนสวนหนึ่งของความพยายามทางการตลาดขององคกรดวย


                   13.  การชวยใหสินคาพนภัยและการจัดการวัสดุเศษเหลือจากการผลิต (Salvage  and  Scrap
                   Disposal )

                          หนึ่งในสิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต  ก็คือการสูญเปลา ( Waste) ของวัตถุดิบที่เกิดจาก
                   การใชไมหมด  ก็จะกลายเปนของเหลือ  หรือบางกรณีไมไดใชวัตถุดิบเต็มที่จะทําใหเกิดเศษเหลือ
                   (Scrap  Disposal ) ลอจิสติกสจะจัดการขายของเหลือหรือเศษเหลือนี้ใหแก องคกร  ซึ่งนอกจากจะ

                   เปนการกําจัดแลวยังทําใหเกิดรายไดแกองคกรดวย  หรือในบางกรณีวัตถุดิบหรือเศษเหลือนั้น
                   สามารถนําไปผลิตตอเพื่อใหเกิดเปนผลิตภัณฑผลพลอยได  (By  Product )  หรือบางกรณีนํากลับมา
                   ผลิตใหม (Recycle)  แลวนํามาใชใหม (Reuse) หรือขายใหม  ลอจิสติกสก็จะเปนกิจกรรมในการนํา

                   วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑที่ขายไปแลวกลับสูโรงงาน/ผูผลิต  เพื่อดําเนินการตอ ดังกลาวขางตนดวย

                          นอกจากนั้น  ลอจิสติกสยังชวยใหวัตถุดิบ  งานระหวางทํา   และสินคาสําเร็จรูป  พนภัย

                   (Salvage)  จากภัยตางๆที่อาจจะเกิดขึ้นแลวกอใ หเกิดความเสียหายและ  /  หรือสูญหายได  เชน
                   ถูกขโมย  น้ําทวม  ความชื้น  ความรอน  แสงแดด  การกระทบกระเทือน  เปนตน  โดยอาศัยการ
                   คลังสินคาและการเก็บรักษารวมกับเครื่องอุปกรณตางๆ  รวมกับการประกันภัย


                   14.  การรับคืนสินคา ( Return  Goods  Handling )
                          การที่รับคืนสินคา  เกิดขึ้นบอยครั้งในลอจิสติกส  ผูซื้ออาจจะสงคืน สินคาใหแกผูขายถา

                   สินคานั้นๆ   มีตําหนิ (Defect )  หมดอายุ (Expire) ผิดประเภท (Incorrect )  เปนตน  เหมือนกับการ
                   สวนทางในถนนวิ่งทางเดียว    (One   Way ) เพราะวาระบบลอจิสติกส  สวนใหญ จะตอบสนองเพื่อ
                   การเคลื่อนที่ของสินคาที่ถือครองไวในชองทางจากจุดกําเนิดในสูจุดบริโภค  แตกรณีที่ผูบริโภคคืน

                   สินคา ที่ไดรับประกันเนื่องจากสาเหตุดังกลาวขางตนคืนกลับสูผูผลิตก็จะทําใหตนทุนของ
                   ลอจิสติกสแบบยอนกลับนี้สูงกวาตนทุนตามปกติถึง 7 เทาโดยประมาณ  และอาจจะใชเวลามากกวา

                   9  เทา  เนื่องจากการรับคืนสินคาไมสามารถจะขนสง  เก็บรักษา   /  หรือถือครองไดอยางมี
                   ประสิทธิภาพ  เพราะไมเกิดการประหยัดโดยขนาด (Economic of Scale) จากการขนสงแตอยางไรก็
                   ตาม  องคกรก็ยังตองมีบริการการรับคืนสินคาอยู   เพราะอุปสงคของผูบริโภคในการรักษาและ

                   อนุรักษสภาพแวดลอมมีกระแสที่รุนแรงมากขึ้น

                          ในการศึกษาตอไป จะกลาวถึงรายละเอียดของกิจกรรมลอจิสติกสที่มีความสําคัญ บทบาท
                   รวมถึงตนทุนที่สูงมากเทานั้น เชน การบริการลูกคา ระบบขอมูลขาวสารเพื่อลอจิสติกส การจัดซื้อ

                   การจัดการการเคลื่อนที่ของวัสดุ การจัดการสินคาคงคลัง การขนสง การเลือกทําเลที่ตั้ง คลังสินคา
                   โรงงาน และศูนยกระจายตัวสินคาเทานั้น
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67