Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                    45



                   5.  การพยากรณอุปสงค (Demand Forecasting)

                          การพยากรณอุปสงค  เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับการประมาณการสินคาและบริการที่ลูกคา
                   ตองการในเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต  ความจําเปน ในการพยากรณอุปสงคของสินคาและบริการ

                   เปนสิ่งที่สําคัญในการดําเนินการขององคการ  การตลาด  การผลิต  และการจัดการการตัวกระจายสินคา

                          การพยากรณอุปสงคของตลาดในอนาค ตจะทําใหเกิดการตัดสิ นใจในกลยุทธการสงเสริม

                   การตลาด  การกําหนดจํานวนพนักงานขาย   กลยุทธการตั้งราคา  และกิจกรรมการวิจัยตลาด รวมถึง
                   การพยากรณการผลิตเพราะจะทําใหสามารถกําหนดตารางการผลิต  การจัดซื้อ  กลยุทธ  และการ

                   ตัดสินใจเกี่ยวกับสินคาคง คลังในโรงงาน รวมถึงวิธีการขนสง และตนทุนใน กิจกรรมลอจิสติกส

                   ทั้งหมดได

                          การจัดการการเพื่อกระจายตัวสินคา  จําเปนที่จะตองอาศัยการพยากรณอุปสงคเพราะจะทํา

                   ใหทราบถึงจํานวนที่ตองผลิตในแตละหน วยผลิตภัณฑ  วิธีการและปริมาณการขนสงไปยังตลาด

                   การจัดการการกระจายสินคาตองทราบวา จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอุปสงค เมื่อใดและกับตลาดใด

                   เพื่อที่จะไดกําหนดจํานวนรานคาในแตละพื้นที่ไดเหมาะสม  ความรูในระดับอุปสงคของอนาคต
                   สามารถจะทําใหผูจัดการลอจิสติกส  สามารถจัดสรรทรัพยากร (งบประมาณ) ไปยังกิจกรรมตาง ๆ

                   เพื่อตอบสนองความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ  การตัดสินใจภายใตความไมแนนอนจะเปนจุด

                   วิกฤติที่จะหาความแมนยําไดนอยมาก  เพราะเปนเรื่องยากที่สุด ที่จะจัดสรรทรัพยากรระหวางกิจกรรม
                   ของลอจิสติกส  โดยปราศจากความรูวาผลิตภัณฑและบริการใดจะเปนที่ตองการ  นั่นคือสินคาอะไร

                   จํานวนเทาใด  เมื่อไร  ในตลาดใด

                          นอกจากนั้นการติดต อสื่อสารเพื่อประสานงานไปยังฝายการตลาด  การผลิต  และการ
                   จัดการลอจิสติกส ในอุปสงคที่พยากรณไดเปนสิ่งจําเปนโดยอาศัย  คอมพิวเตอร เพื่อชวย   การ

                   วิเคราะหคาแนวโนม  การประมาณการพนักงานขาย ตนทุน และกลยุทธการตลาด เปนตน



                   6.  การขนสง (Transportation)
                          องคประกอบของกระบวนการจัดการลอจิสติกสที่สําคัญ คือ การเคลื่อนที่หรือการไหลของ

                   สินคาจากจุดกําเนิดไปยังจุดผูบริโภค  และบางครั้งก็เปนไปในทางตรงกันขาม กลาวคือ เปนการรับ

                   คืนหรือการนํากลับเพื่อการนํากลับสูการผลิต  (Reproduct)  หรือการนํากลับสูวงจร (Recycle)  และ
                   การใชซ้ํา (Reuse) จากจุดบริโภคสูจุดกําเนิด กิจกรรมของการขนสง จะเกี่ยวของกับการคัดเลือกวิธี

                   ในการเคลื่อนยาย (อากาศ  รถไฟ  น้ํา  ทอ  รถบรรทุก )   การเลือกวิธีเฉพาะหรือเสนทางการขนสง

                   (Rooting) ที่ตองการประยุกตตามความแตกตางในแตละพื้นที่ สถานภาพ (State) และกฎระเบียบใน
                   การขนสง  ตนทุน และการคํานึงถึงความตองการทั้งในประเทศและตางประเทศ เปนการวางแผน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63