Page 163 -
P. 163

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               154                                                                           บทที่ 7




                                                            –
               สารตั้งตนมีคามากกวาสภาพนําไฟฟาของ CH COO ซึ่งเปนผลิตภัณฑ  ดังนั้นคาสภาพนําไฟฟา
                                                       3
               ของสารละลายจะลดลงเมื่อปฏิกิริยาดําเนินไป


               7.2  การหากฎอัตรา (Determination of Rate Law)



                       การหากฎอัตราคือการหาความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาและความเขมขนของ

               สารตั้งตนแตละชนิด  ที่อุณหภูมิหนึ่งๆ  ดังนั้นในการทดลองจะตองติดตามความกาวหนาของ

               ปฏิกิริยาโดยวัดการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเทียบกับเวลาดังที่กลาวมาในหัวขอ 7.1  และหาอันดับ
               ของปฏิกิริยาซึ่งเปนสวนสําคัญของกฎอัตรา ซึ่งมีหลายวิธีคือวิธีการแยกเอกเทศ วิธีอัตราเริ่มตน วิธี

               ครึ่งชีวิต และวิธีเทียบความสัมพันธระหวางความเขมขนและเวลา ตอจากนั้นจะคํานวณคาคงที่อัตรา

               ของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิหนึ่งๆ ได และการเปลี่ยนอุณหภูมิในการทดลอง จะสามารถหาคาคงที่อัตรา
               ในแตละอุณหภูมิได  และจะคํานวณพลังงานกระตุนตามสมการอารเรเนียส (Arrhenius equation)

               ในชวงอุณหภูมิที่ศึกษาได



                       7.2.1  วิธีการแยกเอกเทศ (Isolation Method)


                       วิธีการแยกเอกเทศคือวิธีที่ใชศึกษากฎอัตราในกรณีที่มีสารตั้งตนมากกวาหนึ่งชนิด  โดยใช

               ควบคูกับวิธีหาอันดับของสารตั้งตนเพียงชนิดเดียว  และมีหลักการคือทําใหความเขมขนของสารตั้ง
               ตนทุกชนิดมีคามากเกินพอ ยกเวนสารตั้งตนเพียง 1 ชนิดที่ตองการหาอันดับ เพื่อแยกสารตั้งตนนี้

               ออกจากสารตั้งตนชนิดอื่นๆ  ตอจากนั้นนําวิธีการแยกเอกเทศไปใชรวมกับวิธีในการหาอันดับของ

               สารตั้งตนเพียงชนิดเดียวตอไป ตัวอยางปฏิกิริยาตอไปนี้
                                                           k
                                              A   +  B   ⎯ →⎯        P                     (7.13)

                                                                      p
               มีกฎอัตราดังนี้                     R       =      k [A]  [B] q             (7.14)
               เมื่อ   R  =  อัตราการเกิดปฏิกิริยา
                       p, q  =  อันดับที่ขึ้นกับความเขมขนของสารตั้งตน A และ B ตามลําดับ

                       n  =  p + q  =  เปนอันดับรวมของปฏิกิริยา

                       k  =  คาคงที่อัตราของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิหนึ่งๆ
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168