Page 159 -
P. 159

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               150                                                                           บทที่ 7





                       7.1.1  วิธีทางเคมี (Chemical Methods)


                       วิธีทางเคมีเปนวิธีที่ใชวัดความเขมขนของสารที่สนใจดวยเทคนิคทางปริมาตร (volumetric)

               หรือทางน้ําหนัก (gravimetric) โดยจะตองชักตัวอยาง (sampling) หรือดึง (remove) สารผสมออก
               จากระบบดวยปริมาณที่แนนอนหนึ่งๆ  เพื่อนํามาวิเคราะห  ณ  เวลาตางๆ  หรืออาจจะแบงสารผสม

               ของระบบออกเปนสวนยอยหลายๆ สวน และนําแตละสวนยอยนั้นมาวิเคราะหที่เวลาตางๆ การทํา

               เชนนี้เพื่อใหแตละสวนยอยมีความเขมขนเริ่มตนเทากัน   และแตละสวนยอยที่นํามาวิเคราะหเปน

               เปนตัวแทนความเขมขนของสารตางๆ ณ เวลานั้นๆ ทั้งนี้เพราะวิธีทางเคมีเปนเทคนิคที่ทําใหสารที่
               ตรวจสอบเปลี่ยนแปลงทางเคมีไปจากเดิม อยางไรก็ตามในการทดลองอาจจะตองหยุด (stop) หรือ

               แชแข็ง (freeze)  ปฏิกิริยากอนนํามาวิเคราะหดวยวิธีทางเคมี  เชนทําใหเย็นอยางรวดเร็วในอาง

               น้ําแข็ง  หรือการเติมตัวยับยั้งปฏิกิริยา (inhibitor)  หรือการนําสารตั้งตนออกจากระบบ  เพื่อให
               ปฏิกิริยาที่ศึกษาชาลงและชากวาเทคนิคทางเคมีที่ใชวิเคราะห




                       7.1.2  วิธีทางกายภาพ (Physical Methods)


                       วิธีทางกายภาพเปนวิธีในการวัดคุณสมบัติทางกายภาพที่ขึ้นกับความเขมขนของสาร  และ
               เปนวิธีที่วัดคุณสมบัติทางกายภาพของสารทุกชนิดในระบบ       (ยกเวนสารบางชนิดที่ไมแสดง

               คุณสมบัตินั้นๆ)  ดังนั้นคุณสมบัติทางกายภาพของสารตั้งตนจะตองแตกตางจากผลิตภัณฑ  โดย

               คุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงระหวางสารตั้งตนและผลิตภัณฑ      ควรจะแปรตามความเขมขนที่
               เปลี่ยนแปลงของสารทั้งสองในเชิงเสนตรง ดังแสดงในตัวอยางของปฏิกิริยาตอไปนี้


                                                A      ⎯ →⎯       P                        (7.1)

               ให  λ  =  คาของคุณสมบัติทางกายภาพที่วัดได ณ เวลา t ดังนั้นจะไดอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูป
                                              d[A]                 d[A] dλ
                                            –              =      –                        (7.2)
                                               dt                    λ d  dt

               ถาคุณสมบัติทางกายภาพ (λ)  แปรตามความเขมขนของสารตั้งตน A ([A])  ในเชิงเสนตรง  ดัง

               สมการตอไปนี้

                                                [A]        =      a λ  +  b                (7.3)
               เมื่อ a, b  =  คาคงที่ของสมการเสนตรงในรูปความชันและคาจุดตัดแกน y ตามลําดับ
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164