Page 157 -
P. 157

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               148                                                                           บทที่ 6





               จึงทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีคาเพิ่มขึ้น เมื่อความดันของสาร A เพิ่มขึ้นในชวงแรก แตถาความ
               ดันของสาร A  สูงมากๆ  จะทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยามีคาลดลง  ซึ่งอาจเปนเพราะการดูดซับของ

               สาร A  บนพื้นผิวสมบูรณ  และอาจขัดขวางการดูดซับของสาร B  ดวย  ในกรณีที่ขั้นตอนการ

               เกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตรา
               กรณีที่ 3  ถากําหนดใหการดูดซับของสาร A  บนพื้นผิวของตัวเรงแรงมากๆ  ในขณะที่การดูดซับ

               ของสาร B บนพื้นผิวของตัวเรงเปนแรงอยางออนๆ หรือ K  p  >> K  p  และ K  p  >> 1 จะทําให
                                                                                   1 A
                                                                         2 B
                                                                 1 A
               สมการ (6.132) กลายเปน
                                                           (N    2 k )  K  p
                                            R      ~          mon   3  2  B                (6.135)
                                                                K 1 p A

               สมการ (6.135)  แสดงวา  ปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรงที่มีสารตั้งตนสองชนิด  จะมีอัตราการ
               เกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เมื่อความดันของสาร B เพิ่มขึ้น แตอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง เมื่อความดัน

               ของสาร A เพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเปนเพราะการดูดซับของสาร A บนพื้นผิวของตัวเรง จะขัดขวางการดูด

               ซับของสาร B ในกรณีที่ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตรา

                       ในการพิจารณากฎอัตราของปฏิกิริยาบนพื้นผิวของตัวเรงที่มีสารตั้งตนสองชนิด   เมื่อ
               ขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยาเปนขั้นกําหนดอัตราของกลไกอีเลย-ไรดีลในสมการ (6.107)  และ

               กลไกแลงเมียร-ฮินเชลวูดในสมการ (6.132)  จะเห็นวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความดันหรือ

               ความเขมขนของสารที่ไมไดดูดซับ (สาร B ในสมการ (6.109) และ (6.110)) ในกรณีกลไกอีเลย-ไร

               ดีล  แตในกรณีกลไกแลงเมียร-ฮินเชลวูดอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความดันหรือความเขมขนของ
               สารที่ดูดซับบนพื้นผิวของตัวเรงดวยแรงอยางออนๆ (สาร B  ในสมการ (6.133)  และ (6.135))

               อยางไรก็ตามอัตราการเกิดปฏิกิริยาของกลไกอีเลย-ไรดีลขึ้นกับความดันหรือความเขมขนของสาร

               ตั้งตนที่ถูกดูดซับ (สาร A ในสมการ (6.109)) ดวย เฉพาะกรณีความดันหรือความเขมขนของสาร
               นั้นๆ มีคาต่ําเทานั้น ในทํานองเดียวกับกลไกแลงเมียร-ฮินเชลวูด อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความ

               ดันหรือความเขมขนของสารตั้งตนอีกชนิด (สาร A) ที่ถูกดูดซับอยางออนๆ ดังสมการ (6.133) และ

               ยังคงขึ้นกับความดันหรือความเขมขนของสารนี้ (สาร A)  เมื่อการดูดซับของสารนี้มากกวาสารตัว
               แรก (สาร B)  ที่ความดันต่ําดังสมการ (6.134)  แตสงผลตรงขามคืออัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลง

               เมื่อความดันหรือความเขมขนของสารตั้งตนตัวที่สอง (สาร A)  เพิ่มขึ้น  โดยที่การดูดซับของสารนี้

               (สาร A) แรงกวาสารตั้งตนตัวแรกมากๆ (สาร B) หรือ/และที่ความดันหรือความเขมขนของสารตัว
               ที่สอง (สาร A) มีคาสูงมากๆ ดังสมการ (6.135)
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162