Page 160 -
P. 160

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       วิธีของการศึกษาจลนพลศาสตรเคมี                                                  151





                       และทําอนุพันธสมการ (7.3) เทียบกับคุณสมบัติทางกายภาพ จะได
                                                      d[A]
                                                                  =      a                        (7.4)
                                                       λ d
                       แทนคาสมการ (7.4) ในสมการ (7.2) จะได
                                                     d[A]                    dλ
                                                   –              =      – a                      (7.5)
                                                      dt                     dt
                       ดังนั้นสมการ (7.5)  แสดงใหเห็นวากราฟแสดงความสัมพันธระหวาง [A]  และ t  คลายกับกราฟ

                       แสดงความสัมพันธระหวาง  λ  และ t  และจะหาอันดับของปฏิกิริยาจากกราฟทั้งสองโดยไม
                                          dλ      d[A]
                       จําเปนตองเปลี่ยนจาก    เปน    อยางไรก็ตามในการหาคาคงที่อัตรา k จําเปนตองเปลี่ยนจาก
                                          dt       dt
                       dλ   เปน  d[A]

                        dt       dt
                              การหาคา a  ในสมการ (7.4)  จะหาไดจากอัตราสวนระหวางการเปลี่ยนแปลงความเขมขน

                       ของสาร A และการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพคือ
                                                                         [A] −  [A] 0
                                                                            ∞
                                                       a          =                               (7.6)
                                                                           λ ∞ −  λ 0

                       เมื่อ [A] , [A]   =  ความเขมขนของสาร A ณ จุดเริ่มตนและจุดสุดทายของปฏิกิริยา ตามลําดับ
                             0
                                   ∞
                       และ λ , λ   =  คุณสมบัติทางกายภาพ ณ จุดเริ่มตนและจุดสุดทายของปฏิกิริยา ตามลําดับ
                            0
                                ∞
                       แทนคาสมการ (7.6) ในสมการ (7.5) จะได

                                                     d[A]                  dλ  ⎛ [A] ∞ − [A] 0  ⎞
                                                   –              =      –    ⎜            ⎟      (7.7)
                                                      dt                   dt  ⎜  λ ∞ −  λ 0  ⎟
                                                                              ⎝
                                                                                           ⎠
                       ดังนั้นความสัมพันธระหวางคุณสมบัติทางกายภาพและความเขมขนในเชิงเสนตรงจะหาคาคงที่ a

                       จากสมการ (7.6)  แตถาความสัมพันธของตัวแปรทั้งสองนั้นไมเปนเสนตรง  อาจจะใชกราฟเทียบ
                       มาตรฐาน (calibration graph) ระหวางตัวแปรทั้งสอง เพื่อใชในการเปลี่ยนคาคุณสมบัติที่วัดไดเปน

                       ความเขมขน

                              ขอดีของวิธีทางกายภาพเมื่อเทียบกับวิธีทางเคมีคือ  วิเคราะหไดเร็วกวา  วิเคราะหไดโดยไม
                       ตองเก็บสารหรือดึงสารออกจากระบบ  และระบบจะถูกรบกวนนอยกวา  แตขอเสียของวิธีทาง

                       กายภาพคือ ไมใหผลทางความเขมขนโดยตรง และปฏิกิริยาขางเคียงอาจทําใหเกิดความผิดพลาดได
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165