Page 165 -
P. 165

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               156                                                                           บทที่ 7





               ที่จุดเริ่มตน สมการ (7.20) จะเปลี่ยนเปน R 0  =   k [A] 0 n                (7.21)

               ใสลอการิธึมในสมการ (7.21) จะได log R 0    =      log k +  n log[A] 0      (7.22)

               ดังนั้นจะหาอันดับ n ของสาร A  จากความชันของกราฟเสนตรงระหวาง log R 0  กับ log[A]  ซึ่ง
                                                                                              0
               เปนไปตามสมการ (7.22) และแสดงความสัมพันธของตัวแปรทั้งสองในรูปที่ 7.1


               รูปที่ 7.1  แสดงความสัมพันธระหวางลอการิธึมของอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุดเริ่มตน (logR ) และ
                                                                                             0
                        ลอการิธึมของความเขมขนที่จุดเริ่มตนของสารตั้งตน (log[A] ) ของปฏิกิริยาตอไปนี้
                                                                           0
                        A ⎯ →⎯  P ที่มีอันดับ n = 1, 2, 3 และ 4


                                     -0.8 -0.7 -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1      0.0


                           log ([A] 0 / M)                                           -1.0
                                                                                     -2.0
                                   n = 1                                             -3.0
                                   n = 2
                                   n = 3                                             -4.0
                                   n = 4                                      -1
                                                                     log (R 0/ Ms )  -5.0







                       7.2.3  วิธีครึ่งชีวิต (Half-life Method)


                       วิธีครึ่งชีวิตคือวิธีในการหาอันดับของสารตั้งตนเพียงชนิดเดียว โดยการเปลี่ยนความเขมขน

               เริ่มตนของสารตั้งตน  และวัดครึ่งชีวิตของปฏิกิริยา  เพื่อหาความสัมพันธระหวางครึ่งชีวิตและความ
               เขมขนของสารตั้งตนที่จุดเริ่มตน  อยางไรก็ตามในกรณีที่ปฏิกิริยามีสารตั้งตนมากกวาหนึ่งชนิดจะ

               ใชควบคูกับวิธีการแยกเอกเทศ  ดังตัวอยางปฏิกิริยาในสมการ (7.19)  และมีกฎอัตราในสมการ

               (7.20) ซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลดังนี้
                                                     ] A [ d
                                                –          =      k [A] n                  (7.23)
                                                   dt
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170