Page 168 -
P. 168
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
วิธีของการศึกษาจลนพลศาสตรเคมี 159
7.3 เทคนิคสําหรับศึกษาปฏิกิริยาที่เร็ว (Techniques for the Study of Fast
Reactions)
การติดตามความกาวหนาปฏิกิริยา โดยวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีหรือกายภาพ
ของสารนั้นๆ เทียบกับเวลาดวยเทคนิคตางๆ ที่กลาวมาในหัวขอที่ 7.1 เปนการหาอัตราการ
เกิดปฏิกิริยา แตเทคนิคดังกลาวจะไมเหมาะกับปฏิกิริยาที่เร็ว (fast reactions) ที่มีครึ่งชีวิตอยูใน
ชวงเวลาระหวาง 10 และ 10 วินาที แมวาจะใชวิธีหยุดปฏิกิริยาก็ตาม ดังนั้นวิธีหรือเทคนิคที่ใช
-15
-1
ติดตามปฏิกิริยาที่เร็วและเร็วมากในสารละลายจะตองมีความไวกวาอัตราการเกิดปฏิกิริยา และใน
กรณีที่มีสารตั้งตนมากกวาหนึ่งชนิดตองคํานึงเวลาที่ใชในการผสมสารตั้งตนจะตองนอยกวาเวลา
ของปฏิกิริยาดวย ขอจํากัดทั้งสองขอจึงเปนสวนสําคัญในการเลือกเทคนิคที่เหมาะสมกับปฏิกิริยา
วิธีที่ใชศึกษาปฏิกิริยาที่เร็วมีหลายวิธี เชน วิธีไหล (flow method) วิธีรีแลกเซชัน
(relaxation method) วิธีโฟโตไลซิสแฟรช (flash photolysis) วิธีอิเล็กตรอนพาราแมกเนติกเร
โซแนนซ (electron paramagnetic resonance method, EPR) วิธีนิวเคลียรแมกเนติกเรโซแนนซ
(nuclear magnetic resonance method, NMR) วิธีสเปกโทรสโกปในระดับเวลาของเฟมโตวินาที
(femtosecond spectroscopy) ในที่นี้จะกลาวในรายละเอียดของวิธีไหลและวิธีรีแลกเซชันเทานั้น
7.3.1 วิธีไหล (Flow Method)
วิธีไหลเปนวิธีที่ใชศึกษาปฏิกิริยาที่เร็วโดยใหสารตั้งตนไหลเขาและสารผสมระหวางสาร
ตั้งตนที่เหลือและผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นไหลออกอยางตอเนื่อง (continuous) ภายใตสภาวะคงตัว
(steady state) ดังนั้นความเขมขนของสารตางๆ ณ ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งจะคงที่ แตความเขมขน
ของสารจะแตกตางกัน ณ ตําแหนงที่ตางกัน ดังนั้นการตรวจสอบความเขมขนของสารตางๆ ณ
ตําแหนงตางๆ เทียบไดกับการติดตามความเขมขนของสารตางๆ ที่เปลี่ยนแปลง ณ เวลาตางๆ จึง
เปนวิธีที่ใชศึกษาปฏิกิริยาที่เร็วได รวมทั้งการผสมของสารตั้งตนจากการฉีดสารใหไหลเขาหากัน
ในหองผสม (mixing chamber) ในชวงเวลาเพียงมิลลิวินาที (ms) ซึ่งตองใชเวลานอยกวาเวลาในการ
เกิดปฏิกิริยา วิธีไหลเปนวิธีที่ศึกษาปฏิกิริยาในระบบเปด (open system) ซึ่งตางจากระบบปด
(closed system) ของวิธีอื่นๆ ที่กลาวมา