Page 167 -
P. 167

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               158                                                                           บทที่ 7





                       7.2.4  วิธีเทียบความสัมพันธระหวางความเขมขนและเวลา


                       วิธีเทียบความสัมพันธระหวางความเขมขนและเวลาคือวิธีในการหาอันดับของสารตั้งตน

               เพียงชนิดเดียว โดยการวัดความเขมขนของสารตั้งตนเทียบกับเวลา และหาความสัมพันธระหวางตัว
               แปรทั้งสองนั้น   ซึ่งจะไดกราฟที่แตกตางกันถาอันดับของปฏิกิริยานั้นตางกัน   ดังตัวอยางของ

               ปฏิกิริยาอันดับ 0, 1, 2  และ 3  ในรูปที่ 7.3  และอาจเปลี่ยนความสัมพันธดังกลาวใหเปนสมการ

               เสนตรงระหวางฟงกชันตางๆ  ของความเขมขนและเวลา  เพื่อความชัดเจนในการหาอันดับของ

               ปฏิกิริยามากขึ้น (ซึ่งกลาวในรายละเอียดแลวในหัวขอ 2.3 บทที่ 2) และในกรณีที่ปฏิกิริยามีสารตั้ง
               ตนมากกวาหนึ่งชนิดจะใชควบคูกับวิธีการแยกเอกเทศในการหาอันดับของสารแตละตัว  อยางไรก็

               ตามวิธีเทียบความสัมพันธระหวางความเขมขนและเวลานี้ไมคอยสะดวกในการหาอันดับเมื่อเทียบ

               กับวิธีอื่นที่กลาวมาแลว




               รูปที่ 7.3  แสดงความสัมพันธระหวางความเขมขนสารตั้งตน ([A])  และเวลา (t)  ของปฏิกิริยา
                        ตอไปนี้ A ⎯ →⎯  P ที่อันดับ n = 0, 1, 2 และ 3




                              2.50  [A] / M

                              2.00                                          n = 0
                                                                            n = 1
                              1.50                                          n = 2

                              1.00                                          n = 3

                              0.50                                 t / s

                                   0         1         2         3
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172