Page 176 -
P. 176
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
156
ต ารับขนมหวานประเภทต้มน ้าตาล
ผู้เขียนขอแนะน าเพียงต ารับเดียว คือ ถั่วเขียวต้มน ้าตาลพร้อมหลักคิดเชิงเทคนิคให้ผู้อ่านสามารถ
สร้างความเข้าใจเพื่อการต่อยอดความคิดได้ต่อไป
ถั่วเขียวต้มน ้าตาล
เครื่องปรุง
ถั่วเขียวดิบ ½ ถ้วย
น ้าเปล่า 4 ถ้วย (หรือ 1 ลิตร)
น ้าตาลทราย ¼ ถ้วย
น ้าตาลอ้อย ¼ ถ้วย
เกลือป่น ¼ ช้อนชา
วิธีท า
1. เลือกเก็บเมล็ดถั่วเขียวเสีย ถั่วเมล็ดอ่อน และเมล็ดถั่วที่ไม่สมบูรณ์ทิ้ง
2. ใช้ผ้าสะอาดชื้น เช็ดท าความสะอาด โดยเช็ดถูเมล็ดถั่วให้ทั่ว
3. คั่วเมล็ดถั่วด้วยไฟอ่อนปานกลางจนหอม แล้วเทใส่หม้อ
4. เติมน ้าและเกลือป่น แล้วต้มจนถั่วสุก เมล็ดถั่วเริ่มแตก
5. ใส่น ้าตาล คนให้ละลายแล้วยกลง เตรียมเสิร์ฟ
เทคนิคการท าขนมหวานประเภทต้มน ้าตาล
1. การเลือกเมล็ดถั่วเสีย เพื่อก าจัดเชื้อราที่เกิดกับเมล็ดถั่วเสียที่เป็นแหล่งอัลฟ่าท็อกซิน สาเหตุ
การเกิดมะเร็ง
2. การเช็ดท าความสะอาดเมล็ดถั่วเพื่อลดฝุ่นละอองและฝุ่นจากรา ส่วนการคั่วเพื่อเพิ่มกลิ่นหอม
3. การเติมน ้าตาลทีหลัง เพื่อให้น ้าที่ต้มซึมผ่านผนังเมล็ดถั่วได้ดี (ตามหลักออสโมซีส) เพราะ
หากใส่น ้าตาลพร้อมน ้าที่ต้มพร้อมกับเมล็ดถั่ว จะท าให้สุกยาก หรือ ถั่วไม่สุก เพราะเมื่อ
น ้าซึมผ่านผนังเมล็ดถั่วไม่ได้ แป้ งในเมล็ดถั่วจึงสุกไม่ได้
4. การต้มเมล็ดถั่ว อาจจะใส่ช้อนดินเผาใส่ในหม้อไปด้วย เพื่อช่วยให้เมล็ดถั่วหิน หรือ เมล็ด
ถั่วที่แข็งแห้งให้สามารถสุกทั่วถึง เพราะช้อนดินเผามีทราย เมื่อถูกความร้อนจะร้อนมากกว่า
100 องศาเซลเซียส ซึ่งร้อนกว่าอุณหภูมิน ้าเดือด และช่วยให้เมล็ดถั่วสุกง่ายขึ้น
5. การต้มถั่วเขียว และมันเทศต้มน ้าตาล อาจจะใส่ขิงไปด้วย 3 – 5 แว่น จะช่วยเพิ่มกลิ่นหอม