Page 181 -
P. 181

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       7-16




                   ในการผลิตให้เหมาะสม รวมทั้งหาทางป้องกันมิให้ถูกกดราคา จะเพิ่มทุนธนาคารเพื่อการเกษตร เพื่อให้ธนาคาร

                   ดังกล่าวขยายกิจการให้กว้างขวางยิ่งขึ้น” (ส้านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2540: 161)
                                  พ.ศ. 2512 กรมชลประทานได้ปรับปรุง “สรีดภงส์” หรือท้านบดินที่ปรากฎในศิลาจารึกหลักที่

                   1 กรุงสุโขทัยเป็น “อ่างเก็บน้้าพ่อขุนรามค้าแหง” หรือ “อ่างเก็บน้้าสรีดภงส์” (ปราโมทย์ ไม้กลัด, 2537: 14)

                           นโยบายน ้าในช่วงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519)
                                  แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) มีนโยบายและ

                   มาตรการในด้านการชลประทานโดยกล่าวถึงในบทที่ 8 การเกษตรและชลประทาน หน้า 254-258 ดังนี้
                                         “(ก) เน้นหนักในการเร่งการก่อสร้างเพิ่มเติมตามโครงการชลประทานต่างๆ ให้

                   เสร็จสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบคลองส่งน้้า และคลองระบายน้้าตลอดจนการสร้างคันและคูน้้าเพื่อ

                   เร่งรัดการเพิ่มผลผลิต และการขยายเนื้อที่เพาะปลูก 2 ครั้งในเขตชลประทานส้าหรับโครงการชลประทาน
                   ใหม่ขนาดใหญ่ให้พิจารณารอการก่อสร้างไว้ก่อน

                                         (ข)  ให้มีการประสานงาน และการปฏิบัติงานสนับสนุนซึ่งกันและกันอย่างใกล้ชิด

                   ระหว่างกระทรวงเกษตรและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรของกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ได้แก่
                   กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กรมสหกรณ์ที่ดิน กรมสหกรณ์พาณิชย์และธนกิจ และส้านักงาน

                   ปลัดกระทรวง ตามแผนประสานงานซึ่งได้จัดท้าขึ้นร่วมกัน

                                         (ค)  เร่งรัดการพัฒนาแหล่งน้้าบาดาลเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภคในเขตที่
                   ขาดแคลนน้้า และมีมาตรการด้าเนินการ ดังนี้

                                                (ก)  การวางแผนเพื่อพัฒนาแหล่งน้้า การพัฒนาแหล่งน้้าในประเทศไทย
                   ยังขาดการวางแผนที่ครอบคลุมทุกด้าน (Comprehensive Planning) และการวางแผนที่ติดต่อประสาน

                   กับทุกระดับ ในด้านการวางแผนสมบูรณ์แบบนั้น จะเห็นได้ว่าโดยทั่วไปมิได้วางแผนพัฒนาทั้งแหล่งน้้าเพื่อ

                   ประโยชน์ในด้านต่างๆ พร้อมกัน แต่มักจะมองแต่เฉพาะการก่อสร้างเขื่อนและอาคารต่างๆ เป็นใหญ่ ซึ่ง
                   ตามความเป็นจริงนั้น การก่อสร้างเป็นเพียงส่วนหนึ่งของแผนงานเท่านั้น จ้าเป็นจะต้องพิจารณาถึงการ

                   รักษาต้นน้้าล้าธาร การส่งน้้าให้ทั่วถึง ตลอดจนการใช้น้้าให้เป็นประโยชน์สูงสุดด้วย ส่วนในด้านวางแผน
                   ประสานงานนั้น การวางแผนชลประทาน ปัจจุบันยังขาดการประสานงาน และการชักจูงให้หน่วยงานอื่น

                   มาร่วมด้วย เพื่อปฏิบัติงานพร้อมกันไปทุกระดับ ไม่ให้มีการขาดช่วง หรือเหลื่อมล้้ากันได้

                                                นอกจากนั้น เมื่อมองในระดับประเทศแล้วการวางแผนชลประทานยัง
                   ขาดแม่บท (Master  Plan)  ที่จะยกลุ่มน้้าทุกลุ่มน้้ามาพิจารณาพร้อมกัน และจัดอันดับความส้าคัญให้

                   ถูกต้องและชัดแจ้ง การก่อสร้างเขื่อนเป็นแห่งๆ ไปโดยไม่ค้านึงถึงโครงการที่สร้างแล้วที่ก้าลังสร้างหรือจะ

                   สร้างต่อไปย่อมท้าให้ไม่สามารถเห็นภาพโดยสมบูรณ์เป็นการยากแก่การพิจารณา
                                                (ข) เร่งรัดการเกษตรชลประทาน โดยให้ความส้าคัญแก่การพัฒนาระบบ

                   ส่งน้้าให้สมบูรณ์ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ ดังนี้
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186