Page 182 -
P. 182

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       7-17




                                                       1. เร่งการสร้างระบบส่งน้้า ส้าหรับโครงการที่มีอยู่แล้วให้เสร็จสิ้น

                   ไปโดยด่วน รวมทั้งการสร้างคันคูน้้าด้วย โครงการที่เห็นได้ชัดว่าเร่งด่วน ได้แก่ โครงการอ่างเก็บน้้าใน
                   ภาคอีสาน นอกจากการส่งน้้าแล้ว จะต้องเร่งโครงการระบายน้้า และปราบที่ดิน ซึ่งเวลานี้เพิ่งเริ่มงานเท่านั้น

                                                       2.  เพิ่มงบประมาณเพื่อการส่งน้้าและบ้ารุงรักษา ตลอดจน
                   งบประมาณ เพื่อพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็ก รวมทั้งแหล่งน้้าบาดาล กรมชลประทานควรมีบทบาทส้าคัญในเรื่องนี้

                   และมีโครงการเฉพาะเรื่องนี้ด้วย

                                                (ค)  ก้าหนดหลักเกณฑ์ในการเริ่มโครงการใหม่ให้แน่นอน ในขณะที่
                   รัฐบาลก้าลังเน้นหนักการสร้างโครงการที่ท้าอยู่แล้วให้เสร็จสมบูรณ์ อาจมีความจ้าเป็นที่จะต้องริเริ่มโครงการ

                   ใหม่บ้างเป็นบางโครงการในเมื่อฐานะการเงินอ้านวยให้ มิฉะนั้นแล้วจะเกิดการขาดดุลขึ้น เนื่องด้วยการ
                   ก่อสร้างตามโครงการใหม่ต้องใช้เวลากว่าจะเกิดผล กล่าวคือ ในบางท้องที่ได้รับการชลประทานสมบูรณ์ แต่

                   ในบางแห่งราษฎรไม่ได้รับความช่วยเหลือ การเพิ่มผลผลิตมิอาจท้าได้ หลักเกณฑ์ดังกล่าว ได้แก่

                                                       1)  เป็นเขตที่มีความแห้งแล้ง ขาดการชลประทานแต่มีแหล่งน้้า
                   ซึ่งพร้อมจะพัฒนาได้ทันที มีเนื้อที่เพาะปลูกและจ้านวนเกษตรกรมาก กับทั้งได้มีการส้ารวจที่แน่นอนเชื่อถือ

                   ได้ว่าจะให้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจคุ้มค่า หรือโครงการที่พิสูจน์แล้วว่ามีความส้าคัญอย่างยิ่งต่อความมั่นคง

                   ของชาติ ซึ่งจ้าเป็นที่จะต้องด้าเนินการถึงแม้ว่าประโยชน์ในทางเศรษฐกิจอาจต่้ากว่าที่ควร
                                                       2) เงินลงทุนไม่เกินความสามารถของประเทศ ในกรณีที่อาจ

                   ต้องกู้เงินจากภายนอก แหล่งให้กู้ต้องเป็นที่เชื่อถือได้ และยืนยันว่าเห็นด้วยที่จะเริ่มโครงการดังกล่าว
                                                (ง)  การจัดการและการใช้น้้า ถึงแม้ว่าชลประทานในประเทศไทยจะได้

                   ด้าเนินการมาแล้วหลายปี แต่เกษตรกรไทยที่เข้าใจหลักการจัดการ และการใช้น้้ายังมีน้อย แม้แต่ใน

                   ภาคเหนือซึ่งดีกว่าภาคอื่น ก็ยังปรากฏว่าการใช้น้้ายังไม่เป็นไปโดยประหยัด ท้าให้สูญเสียน้้าไปโดยไม่ควรเป็น
                   อันมาก นอกจากนั้น หลักการใช้น้้าจะมีผลสมบูรณ์ได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งน้้าถึงไร่นา โดยเกษตรกรจัดท้าคันนา

                   คูน้้า หรือเหมืองไส้ไก่ให้ทั่วในพื้นที่ของตน ซึ่งปรากฏว่าราษฎรส่วนมากยังไม่เข้าใจความจ้าเป็นในเรื่องนี้
                   กลับคิดไปว่าเป็นหน้าที่ของกรมชลประทานจะต้องส่งน้้าให้ถึงตัว สถาบันเกษตรกรที่มีอยู่แล้ว เช่น สหกรณ์

                   ที่ดิน และสมาคมชลประทานราษฎร์ ยังมิอาจช่วยให้เกษตรกรเข้าใจเรื่องนี้อย่างแท้จริง จึงควรเร่งรัดจัดให้

                   สถาบันเกษตรกรที่มีอยู่แล้ว ให้เข้าใจในหลักการเกษตรโดยใช้น้้าชลประทาน (Irrigation  Agronomy)
                   ในเขตที่มีการชลประทานแล้ว

                                  โครงการชลประทานที่ส้าคัญ

                                            โครงการพัฒนาการชลประทาน ประกอบด้วยโครงการที่สืบเนื่องมาจากแผนพัฒนาฯ
                   ฉบับที่ 2 เป็นส่วนใหญ่ และมีบางโครงการที่ริเริ่มใหม่ในระยะของแผนฉบับนี้

                                         งานต่อเนื่อง

                                                1.  เขื่อนวชิราลงกรณ์ และระบบการส่งน้้า เป็นโครงการที่ส้าคัญในภาค
                   ตะวันตกเริ่มด้าเนินงานระยะแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 เป็นการก่อสร้างเขื่อนทดน้้า พร้อมกับระบบส่งน้้าเพื่อ
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187