Page 178 -
P. 178

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       7-13




                                  8.  โครงการพัฒนาการชลประทาน ประกอบด้วยโครงการที่สืบเนื่องมาจากโครงการใน

                   แผนแรกและโครงการที่ริเริ่มใหม่ในระยะของแผนนี้โครงการชลประทานที่ส้าคัญที่จะเริ่มการก่อสร้างใน
                   ระยะของแผนพัฒนาการเศรษฐกิจมี ดังนี้

                                         8.1 โครงการเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นโครงการเขื่อนกักน้้าเอนกประสงค์ปิด
                   กั้นแม่น้้าน่านพร้อมทั้งมีท้านบปิดช่องเขาขาดอีก 7 แห่ง จากผลของการส้ารวจประมาณว่าจะสามารถเก็บ


                                             3
                   กักน้้าไว้ได้ราว 9,000  ล้าน ม. เพื่อส่งน้้าลงมาช่วยชลประทานแก่โครงการเจ้าพระยาในฤดูแล้งได้อีกใน
                   พื้นที่ 2.1  ล้านไร่ ป้องกันอุทกภัยในพื้นที่สองฝั่งแม่น้้าน่าน เรียกกันว่าเนื้อที่สามเหลี่ยมตอนบนประมาณ
                   3 ล้านไร่ และเมื่อก่อสร้างเขื่อนทดน้้าอีก 2 แห่งคือ ที่อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก พร้อมทั้งระบบส่งน้้าเสร็จแล้ว

                   จะสามารถให้การชลประทาน แก่พื้นที่สามเหลี่ยมตอนบนนี้ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ยังสามารถผลิตพลังงาน
                   ไฟฟ้าได้ประมาณ 240,000 กิโลวัตต์ อีกด้วย มูลค่าก่อสร้างเฉพาะตัวเขื่อนสิริกิติ์ 1,426 ล้านบาท เป็นเงินกู้

                   จากธนาคารโลกอีกส่วนหนึ่งประมาณ 500  ล้านบาท โครงการนี้ได้เริ่มด้าเนินงานเตรียมการก่อสร้างมา

                   ตั้งแต่ปี พ.ศ.  2507  จะเริ่มการก่อสร้างอย่างจริงจังได้ในปี พ.ศ.  2510  เหตุที่การก่อสร้างต้องล่าช้าไปนี้
                   เพราะต้องรอการอนุมัติเงินกู้จากธนาคารโลก การก่อสร้างตัวเขื่อนก้าหนด จะแล้วเสร็จใน ปี พ.ศ. 2514

                                         8.2  โครงการเขื่อนอุตรดิตถ์ และพิษณุโลก มีลักษณะเป็นเขื่อนทดน้้าสองเขื่อน

                   พร้อมกับระบบส่งน้้า เพื่อน้าน้้าที่เก็บไว้ที่เขื่อนผาซ่อมมาใช้เพื่อการชลประทานในพื้นที่ 3  ล้านไร่ ในเนื้อที่
                   สามเหลี่ยมตอนบน  ส่วนที่อยู่บนลุ่มน้้าน่านในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร และนครสวรรค์ ซึ่ง

                   เป็นที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกอย่างยิ่ง เขื่อนทดน้้าอุตรดิตถ์ มีระบบส่งน้้า
                   ประกอบด้วยคลองส่งน้้าสายใหญ่ทั้ง 2  ฝั่ง ยาว 130  กม.  สามารถส่งน้้าเพื่อการชลประทานในเนื้อที่ราว

                   1 ล้านไร่ ในฤดูฝน และส้าหรับปลูกพืชในฤดูแล้ง อีกประมาณ 4 แสนไร่ ส่วนเขื่อนทดน้้าพิษณุโลก มีระบบ

                   ส่งน้้าในพื้นที่กว้างขวางกว่า คือ มีคลองส่งน้้าสายใหญ่ทั้ง 2  ฝั่งยาว 280  กม.  และคลองซอยอีกยาว
                   650 กม. เนื้อที่ที่ได้รับการชลประทานในฤดูฝนราว 2  ล้านไร่ และในฤดูแล้งอีก 9 แสนไร่เขื่อนทดน้้าทั้ง

                   2  แห่งนี้ คาดว่าจะเริ่มเตรียมงานก่อสร้าง ในปี พ.ศ.  2514  และก้าหนดแล้วเสร็จในปี พ.ศ.  2519
                   ราคาก่อสร้างของเขื่อนทั้งสองนี้รวมทั้งระบบส่งน้้า รวมทั้งสิ้นประมาณ 2,600  ล้านบาท รวมเงินตรา

                   ต่างประเทศ ซึ่งคาดว่าจะขอกู้จากต่างประเทศ 780 ล้านบาท

                                         8.3  โครงการแม่กลองใหญ่  เป็นโครงการชลประทานในภาคกลางที่ใหญ่เป็นที่สองรอง
                   จากโครงการเจ้าพระยาใหญ่  การด้าเนินงานในระยะแรกเริ่มตั้งแต่ปี  พ.ศ.  2507  ซึ่งเป็นการก่อสร้างเขื่อนทดน้้าที่

                   อ้าเภอท่าม่วง  จังหวัดกาญจนบุรี  พร้อมกับจัดระบบส่งน้้าในเนื้อที่  1  ล้านไร่  งานในระยะแรกนี้จะเสร็จสิ้นลง

                   ในปี พ.ศ. 2513 งานระยะที่สอง  เป็นการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้้าบนแควใหญ่ ที่วังมะสัง ซึ่งจะเก็บกักน้้าได้ 6,000
                          3
                   ล้าน  ม.   เพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้้าแม่กลอง  และส่งน้้าส้าหรับการชลประทานในทุ่งแม่กลองในฤดูแล้งอีก  1
                   ล้านไร่  พร้อมกันนี้  จะจัดสร้างระบบส่งน้้าเพิ่มขึ้นอีก  1.4  ล้านไร่  พร้อมทั้งดาดคอนกรีตคลองส่งน้้าอีกด้วย

                   การด้าเนินงานตามโครงการในระยะที่สองนี้ จะเริ่มในปี พ.ศ. 2513 และก้าหนดแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2517 ราคางาน
                   ในระยะที่สองนี้รวมประมาณ  1,000  ล้านบาท  เป็นส่วนของเงินตราต่างประเทศ  ซึ่งจะขอกู้จากต่างประเทศราว
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183