Page 176 -
P. 176
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7-11
เจ้าพระยาเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญที่สุดของประเทศไทย เมื่อได้รับประโยชน์จากการชลประทานสมบูรณ์แล้ว
คาดว่าจะสามารถผลิตข้าวได้ปีละไม่ต่้ากว่า 1.8 ล้านตัน โดยเฉลี่ยผลผลิต 3 ไร่ต่อเกวียน
19. นอกจากการก่อสร้างโครงการชลประทานหลวง ชลประทานทั่วไป และอ่างเก็บ
น้้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ในระยะ 3 ปีหลัง กรมชลประทานจะได้ท้าการส้ารวจตามโครงการ
ชลประทาน ที่ส้าคัญอื่นๆ อีก คือ โครงการเขื่อนกึ๊ด เชียงใหม่ โครงการแก่งหลวงสุโขทัย โครงการ
ก้าแพงเพชร โครงการล้าชี ชัยภูมิ และโครงการอ่างเก็บน้้าขนาดใหญ่ทั่วทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อการ
ก่อสร้างในโอกาสต่อไป สรุปได้ว่าในระยะของแผนพัฒนา 6 ปีนี้ กิจการการชลประทานของประเทศไทยได้
เจริญรุ่งเรืองอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน เป็นการวางรากฐานพัฒนาการเกษตรที่มั่นคงส้าหรับอนาคต”
(ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ, 2507 : 73-74)
วันที่ 17 พฤษภาคม 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราช
ด้าเนินทรงเปิดเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก (กรมชลประทาน, 2529: 393)
วันที่ 21 กรกฎาคม 2507 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้กรมประมง กรมการข้าว กรมกสิกรรม
และกรมปศุสัตว์ ด้าเนินการปลูกสร้าง และใช้ที่ดินในบริเวณใต้เขื่อนเจ้าพระยา ตามที่กรมชลประทานได้แบ่งสรร
ให้แล้วเพื่อประโยชน์ของทางราชการอันเกี่ยวกับการชลประทานและการใช้น้้าได้ตลอดไป โดยไม่มีก้าหนดและให้
ด้าเนินการต่อไปตามที่กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติเสนอ
วันที่ 31 ธันวาคม 2507 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติชลประทานหลวง
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2507 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 81 ตอนที่ 124 (ฉบับพิเศษ) โดยมีเหตุผลในการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันนี้ กิจการชลประทานได้ขยายตัวกว้างขวางขึ้น เพื่อให้
ได้ผลตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ แต่ปรากฎว่าบทบัญญัติบางมาตราแห่งกฎหมายว่าด้วยการ
ชลประทานหลวงฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ไม่เหมาะสมแก่การด้าเนินงานก่อสร้าง การบ้ารุงรักษา และการ
ควบคุม ตลอดจนอัตราโทษ อ้านาจของพนักงานเจ้าหน้าที่มีน้อย ไม่พอเพียงที่จะใช้ในการระงับ
ปราบปรามผู้กระท้าผิดให้ได้ผลอย่างแท้จริง จึงจ้าเป็นต้องแก้ไขเพื่อให้เหมาะสมแก่กาลสมัย
นโยบายน ้าในช่วงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
ในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) มีนโยบายน้้า
อยู่ในบทที่ 7 การพัฒนาส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น หน้า 105-106 ดังนี้
“2.2.1 งานเศรษฐกิจชนบท
..............................
(3) โครงการจัดน้้า และที่ดินเพื่อให้ราษฎรในระดับหมู่บ้านได้มีที่ดิน ที่สามารถ
ประกอบอาชีพในทางเกษตร และอาชีพอื่นๆ ได้สะดวก จึงเป็นการจ้าเป็นที่จะจัดให้องค์การบริหารส่วน
จังหวัดร่วมกับเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ด้าเนินการตามโครงการปรับปรุงเรื่องน้้า และจัดที่ดินใน
ระดับหมู่บ้านให้เหมาะสม เพื่อสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และเป็นหนทางที่จะเพิ่มรายได้ดีขึ้น
และเป็นพื้นฐานที่จะส่งเสริมระบบธุรกิจให้กับราษฎรต่อไป