Page 179 -
P. 179
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7-14
380 ล้านบาท ส้าหรับในด้านพลังงานนั้น การไฟฟ้ายันฮีก้าลังด้าเนินการส้ารวจ และวางแผนงานเพื่อผลิตพลังไฟฟ้า
อยู่ในบริเวณเดียวกัน
8.4 โครงการเขื่อนปราณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นโครงการเขื่อนเก็บกักน้้าบน
3
แม่น้้าปราณ มีขนาดความจุน้้า 300 ล้าน ม. ประกอบด้วยระบบส่งน้้าในทุ่งปราณ ทุ่งสามร้อยยอด และทุ่งกุย
มีคลองส่งน้้าสายใหญ่สองฝั่งยาว 82 กม. และคลองซอยอีกมีความยาวรวม 171 กม. โครงการนี้นอกจากจะอ้านวย
ประโยชน์ในด้านการส่งน้้าให้พื้นที่เพาะปลูกราว 170,000 ไร่ ได้ตลอดปีแล้ว ยังช่วยป้องกันอุทกภัยในทุ่งปราณ
ซึ่งตามปกติมีน้้าท่วมอยู่เป็นประจ้าทุกปี และยังช่วยชะล้างความเค็มของดินในทุ่งสามร้อยยอด ให้สามารถใช้ท้าการ
เพาะปลูกได้ผลดียิ่งขึ้นอีกด้วย การเตรียมการก่อสร้างจะเริ่มในปี พ.ศ. 2510 และจะเสร็จในปี พ.ศ. 2515 มูลค่าการ
ก่อสร้างทั้งสิ้น ประมาณ 250 ล้านบาท คาดว่าจะขอกู้จากต่างประเทศส่วนหนึ่ง เป็นมูลค่าประมาณ 80 ล้านบาท
8.5 โครงการเขื่อนกึ๊ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโครงการเขื่อนเก็บกักน้้าบนแม่แตงมี
3
ขนาดความจุน้้าราว 300 ล้าน ม. วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่เพื่อเก็บกักน้้าในแม่แตงไว้ เพื่อบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่
สองฝั่งล้าน้้าปิง ในจังหวัดเชียงใหม่ และล้าพูน และส่งน้้าช่วยการเพาะปลูกพืชในฤดูแล้งในเขตโครงการเขื่อนทด
น้้าแม่แตง และโครงการแม่ปิงเก่าได้อีกราว 1 แสนไร่ อนึ่ง หากมีความจ้าเป็นอาจผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ
40,000 กิโลวัตต์อีกด้วย ราคาค่าก่อสร้างเขื่อนไม่รวมค่าติดตั้งเครื่องก้าเนิดไฟฟ้าประมาณ 300 ล้านบาท จะขอ
กู้จากต่างประเทศด้วยส่วนหนึ่งราว 120 ล้านบาท ก้าหนดเริ่มด้าเนินงานก่อสร้างในปี พ.ศ. 2512 และจะแล้ว
เสร็จในปี พ.ศ. 2516
8.6 โครงการเขื่อนเก็บกักน้้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในระยะของแผนฉบับนี้ มี
โครงการก่อสร้างเขื่อนเก็บน้้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อช่วยการชลประทานในภาคนี้ อันเป็น
โครงการใหม่อยู่หลายโครงการด้วยกัน กล่าวคือ เขื่อนน้้าอูน จังหวัดสกลนคร เขื่อนชีบน จังหวัดชัยภูมิ
เขื่อนมูลบน จังหวัดนครราชสีมา และเขื่อนน้้ายัง จังหวัดร้อยเอ็ด โครงการที่จะเริ่มด้าเนินงานก่อสร้างใน
ระยะต้นของแผน คือ ในปี พ.ศ. 2510 ได้แก่ โครงการเขื่อนน้้าอูน ซึ่งเป็นเขื่อนเก็บกักน้้าบนล้าน้้าอูน
3
ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้้าสงคราม เขื่อนนี้จะมีขนาดความจุของน้้า 475 ล้าน ม. มีระบบส่งน้้า คือ คลองส่งน้้าสายใหญ่
ทั้งสองฝั่ง ยาวรวม 54 กม. และคลองซอยอีก มีความยาวรวม 62 กม. โครงการนี้ จะช่วยบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้้าอูน
และให้การชลประทานแก่การเพาะปลูกในพื้นที่ 160,000 ไร่ ในฤดูฝน และ 102,000 ไร่ ในฤดูแล้ง ก้าหนดการ
ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2514 ราคาค่าก่อสร้างทั้งสิ้นราว 250 ล้านบาท เป็นเงินตราต่างประเทศส่วนหนึ่งราว
60 ล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะขอกู้จากต่างประเทศ ส่วนเขื่อนชีบน เขื่อนมูลบน และเขื่อนน้้ายังนั้น เป็นเขื่อนลักษณะ
เดียวกับเขื่อนน้้าอูน เขื่อนทั้งสามจะช่วยบรรเทาอุทกภัย และขยายเนื้อที่ชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้อีกประมาณ 5 แสนไร่ การก่อสร้างเขื่อนทั้งสามนี้จะเริ่มในระยะปลายของแผน คือ ในปี พ.ศ. 2513 และก้าหนด
เสร็จในปี พ.ศ. 2518 ราคาค่าก่อสร้างรวมทั้งสิ้น 800 ล้านบาท ส่วนที่เป็นเงินตราต่างประเทศราว 180 ล้านบาท จะขอกู้
จากต่างประเทศต่อไป
9. ในด้านชลประทานทั่วไปมีโครงการก่อสร้างเหมืองฝายขนาดย่อมอีกหลายแห่ง
เพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูกในพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทานหลวง ซึ่งจะท้าให้มีเนื้อที่ชลประทานเพิ่มขึ้นอีก