Page 177 -
P. 177
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
7-12
..............................
..............................
2.2.2 งานด้านสังคมและสาธารณูปโภค
..............................
..............................
(2) โครงการน้้าอุปโภคบริโภค ด้าเนินการร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด
จัดให้ราษฎรในชนบทได้มีน้้าบริโภคและใช้สอยอย่างทั่วถึง และป้องกันโรคต่างๆ ด้วยระบบการประปา
จากแหล่งน้้าธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องที่นั้นๆ เช่น แม่น้้า ล้าคลอง หนองบึง สระอ่างเก็บน้้า รวมทั้งน้้าฝนตาม
ธรรมชาติด้วย และด้วยการขุดบ่อขึ้นใหม่เพื่อน้าน้้าบาดาลมาใช้ให้เป็นประโยชน์ตามวิทยาการแผนใหม่ โดย
ร่วมมือและสนับสนุนจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเช่น กรมอนามัย กรมทรัพยากรธรณี กรมชลประทาน
และองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นต้น” (ส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ, 2509: 105-106)
ในบทที่ 9 การเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายน้้าอยู่ในวัตถุประสงค์ของนโยบายการ
พัฒนาการเกษตร หน้า 121 ดังนี้
“3.1 เร่งปรับปรุงขยายพื้นฐานทางการเกษตรให้มั่นคง และสามารถอ้านวย
ประโยชน์ให้แก่เกษตรกร ได้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาการชลประทาน และเส้นทางคมนาคม
3.2 พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าในการเกษตร เพื่อให้สามารถน้ามาใช้ให้
เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยแท้จริงและถาวร อันได้แก่ การพัฒนาและอนุรักษ์ป่าไม้ การพัฒนาแหล่ง
น้้า การพัฒนาที่ดิน และการบ้ารุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน”
ในบทที่ 9 หน้า 135-138 ได้กล่าวถึงโครงการชลประทานและป้องกันอุทกภัย ดังนี้
“7. ตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจฉบับนี้ จะด้าเนินงานตามโครงการชลประทานต่างๆ
ซึ่งเมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้ว จะท้าให้เนื้อที่ชลประทานเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 9.1 ล้านไร่ อย่างไรก็ตามเนื่องจาก
การก่อสร้างโครงการชลประทานต่างๆ ต้องใช้เวลาและเงินมาก ในระยะ 5 ปีของแผน จึงมิอาจด้าเนินการ
ให้เสร็จสมบูรณ์ทุกโครงการได้ เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2514 เป้าหมายเนื้อที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น ได้ก้าหนดไว้
ประมาณ 3.3 ล้านไร่ เมื่อรวมกับเนื้อที่ที่ได้รับการชลประทาน ได้ผลแล้ว 11.7 ล้านไร่ ในปัจจุบันจะได้เนื้อ
ที่ที่ได้รับการชลประทาน เมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2514 ประมาณ 15 ล้านไร่ เนื้อที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวอาจ
แยกตามประเภทของการชลประทานได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ชลประทานหลวง 2,200,500 ไร่
ชลประทานทั่วไป 500,000 ไร่
อ่างเก็บน้้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 146,000 ไร่
ประหยัดน้้าภาคเหนือ 460,000 ไร่
รวมทั้งสิ้น 3,306,500 ไร่