Page 139 -
P. 139

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                                                         การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
                                                                                                       135

                       2.2 เมตริกซ์การออกแบบผลิตภัณฑ์  (Product  design) และการวางแผนกระบวนการ  (Process

                   planning)
                          ภาพที่ 5  แสดงผลของเมตริกซ์การออกแบบผลิตภัณฑ์และการวางแผนกระบวนการ ส่วนของค่าเฉลี่ย
                   ระดับคะแนนความส าคัญ ( IMP) เป็นค่าระดับน้ าหนักความส าคัญของความต้องการเชิงเทคนิค (จากเมตริกซ์

                   HOQ) ที่ถูกแปลงเป็นสเก ล 1 - 5 แล้วเลือกข้อก าหนดทางเทคนิคที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม
                   ธัญญาหารส าเร็จรูปที่มีค่าระดับคะแนนความส าคัญ (IMP) ที่มีค่ามากกว่า 1.0 จากนั้นแปลงข้อก าหนดทางเทคนิค
                   ของผลิตภัณฑ์ 19 รายการ เป็นข้อก าหนดของส่วนประกอบ  (Part characteristic requirements) หรือคุณสมบัติ
                   ของกระบวนการ (Process characteristics) ซึ่งได้จากการร่วมระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลทางเทคนิคจาก
                   ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์  หรือค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ  น ามาสนับสนุน จากเมตริกซ์สามารถแปลงข้อก าหนด
                   ทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์ให้เป็นข้อก าหนดทางเทคนิคของส่วนประกอบย่อยได้เป็น 25 รายการ ซึ่งเป็นข้อก าหนด

                   เกี่ยวกับกระบวนการเตรียมวัตถุดิบของปลายข้าวกล้องหอมมะลิ  12  รายการ คือ อุณหภูมิการอบแห้งข้าวกล้อง
                   ขนาดอนุภาคแป้งข้าวกล้องจากการร่อน  การปรับค่า pH ในการย่อย เวลา - อุณหภูมิการย่อยแป้งข้าวกล้องด้วย
                   เอ็นไซม์ ปริมาณเอ็นไซม์  Amylase เวลา - อุณหภูมิการต้มสุก อุณหภูมิผิวหน้าของลูกกลิ้งด้วยวิธี  Drum  dry
                   (ข้าวกล้อง) ระยะห่างลูกกลิ้งของ  Drum  dry  (ข้าวกล้อง) % ความชื้นข้าวกล้อง ค่า a   ข้าวกล้อง  %  ดัชนีการ
                                                                                     w
                   ละลาย (ข้าวกล้อง) ขนาดอนุภาคแป้งข้าวกล้องหลังการร่อน  กระบวนการเตรียมวัตถุดิบของถั่วแดงพันธุ์อะซูกิ  6

                   รายการ คือ อุณหภูมิผิวหน้าของลูกกลิ้งด้วยวิธี  Drum dry  (ถั่วแดง) ระยะห่างลูกกลิ้งของ Drum dry (ถั่วแดง)
                   ขนาดอนุภาค  –  การร่อนถั่วแดงผง  %  ความชื้นถั่วแดง  ค่า a   ถั่วแดง %  ดัชนีการละลาย  (ถั่วแดงผง)
                                                                      w
                   กระบวนการผลิต 6 รายการ คือ การชั่งส่วนผสมต่างๆ  เวลาในการผสม (Mixing) แรงดันและความเร็วของใบพัด
                   ผสม การตั้งค่าหัวบรรจุ การสุ่มตรวจวัดคุณภาพทางกายภาพ  การสุ่มตรวจวัดคุณภาพทางเคมี  และต้นทุนของ
                   วัตถุดิบและการผลิตโดยรวม 1 รายการ จากนั้นการหาความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการเชิงเทคนิคแต่ละข้อกับ
                   ข้อก าหนดของส่วนประกอบหรือคุณสมบัติของกระบวนการ ( Relations between technical requirements and

                   part  characteristic  requirements  /  process  characteristics) เหล่านี้ด้วยตัวเลขระดับ ความสัมพันธ์  น ามา
                   ค านวณหาค่าความส าคัญโดยสัมบูรณ์  และเรียงล าดับของคุณสมบัติ หรือข้อก าหนดของกระบวนการที่ได้ตามค่า
                   ความส าคัญโดยสัมพัทธ์ (Relative part characteristic requirements / process characteristics importance)
                   และก าหนดค่าเป้าหมาย (Target values) และทิศทางของค่าเป้าหมาย (Movement of target) ของข้อก าหนดทาง
                   เทคนิคของส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ดังแสดงในตารางที่ 4




























                                                ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144