Page 144 -
P. 144

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                              การประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่การท างานเชิงคุณภาพในงานพัฒนาผลิตภัณฑ์

                               เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูปจากปลายข้าวกล้องหอมมะลิและถั่วอะซูกิ
               140

               4.  การประเมินผลการประยุกต์ใช้เทคนิค QFD ในงานพัฒนาผลิตภัณฑ์

                       ท าการเปรียบเทียบค่าคะแนนความชอบหรือความพึงพอใจเฉลี่ยในปัจจัยต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่
               ได้รับการปรับปรุงจากแนวคิดผลิตภัณฑ์จากเทคนิค QFD แล้วโดยทดสอบทางประสาทสัมผัสในปัจจัยต่างๆ  จาก
               ผู้บริโภค  50  คนกลุ่มเดิม แล้วเปรียบเทียบค่าคะแนนความชอบเฉลี่ยจากผู้บริโภคที่มีต่อปัจจัยต่างๆ   ของ
               ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการปรับปรุงจากเทคนิค  QFD  แล้วกับผลิตภัณฑ์ต้นแบบว่ามีคะแนนความชอบต่อแต่ละปัจจัย

               ของผลิตภัณฑ์ที่ได้ปรับปรุงจากเทคนิค QFD แล้วว่าผู้บริโภคจากกลุ่มเดิมให้คะแนนความชอบในแต่ละปัจจัยเพิ่ม
               มากขึ้นหรือลดลงเมื่อเทียบจากค่าคะแนนความชอบของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบก่อนการปรับปรุง ซึ่ง
               เป็นการทดสอบประสิทธิภาพของเทคนิค QFD ที่น ามาประยุกต์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (ตารางที่ 6)

               ตารางที่ 6   ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนความชอบของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบได้ท าการ
                          ปรับปรุงจาก QFD แล้วกับผลิตภัณฑ์คู่แข่ง                              (N=50)

                 ปัจจัยความต้องการ                         ค่าเฉลี่ยคะแนนความชอบ
                     ของลูกค้า      ผลิตภัณฑ์
                    (Customer         คู่แข่ง     ผลิตภัณฑ์   ผลิตภัณฑ์ที่ได้ปรับปรุง  ร้อยละของการปรับปรุง
                   requirement)     B      C     ต้นแบบ (A)     แล้วจาก QFD (A')      ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

                สีของเครื่องดื่ม     -   6.19       5.75              6.78                17.91
                กลิ่นรสธรรมชาติ    6.48    4.78     6.30              8.15                29.37
                ดั้งเดิม
                ระดับความหวาน      6.53  4.90       5.79              8.34                44.04
                ความข้นหนืดภายใน 6.57  5.49         5.53              7.73                39.78

                ปาก
                สามารถเคี้ยวได้    6.55  5.27       5.60              7.76                38.57
                คุณค่าทาง          7.87    5.64     6.34              7.87                24.13
                โภชนาการโดยรวม
                ปริมาณพลังงานที่   7.18  5.77       6.05              7.70                27.27

                ได้รับ
                เส้นใยอาหารสูง     7.67  5.92       6.32              8.38                32.59
                เพิ่มคุณค่าโปรตีน   7.30    5.70    7.99              8.36                 4.63
                ปริมาณแคลเซียม     7.46  6.61       6.00              8.28                38.00
                เพิ่มปริมาณวิตามิน  7.71  5.60      6.21              8.09                30.27
                ต่างๆ

                ปริมาณน้ าตาล      6.83  6.51       6.77              8.07                19.20
                ปริมาณไขมัน        7.34  5.69       6.47              8.34                28.90
                ราคา               6.23  6.71       6.82              8.22                20.53


                       จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้บริโภคให้คะแนนความชอบของผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ได้ปรับปรุงแล้วจากเทคนิค
               QFD เพิ่มขึ้นในทุกปัจจัย และผู้บริโภคให้ค่าคะแนนความชอบเฉลี่ยในแต่ละปัจจัยของผลิตภัณฑ์ที่ได้ปรับปรุงแล้ว
               จากเทคนิค QFD  มากกว่าผลิตภัณฑ์คู่แข่งทั้ง  B  และ C  แสดงว่าผู้บริโภคมีความชอบในผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ


               ชุติมา ไวศรายุทธ์ และ สุภาวดี วัชรอุดมมงคล
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149