Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                                                         การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
                                                                                                       131

                   ตารางที่ 2 (ต่อ)

                                                                                                    (N=50)
                                                                                  ค่าคะแนนความชอบ
                             ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์                    (Rating)
                                 เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูป
                                                                              A**         B**       C**

                   6) แหล่งวัตถุดิบ  จากพืช (Non-Dairy)                        -           -         -
                                  จากนม (Dairy)                                -           -         -
                                  จากแหล่งอินทรีย์ (Organic) 100%              -           -         -
                                  เป็นผลิตภัณฑ์ Non-GMO                        -           -         -
                                  (ไม่ใช้วัตถุดิบที่มีการดัดแปลงทางพันธุกรรม)

                   7) ราคาเหมาะสมกับคุณภาพโดยรวมของผลิตภัณฑ์ *               6.82        6.23       6.71
                   8) ตราสินค้าน่าเชื่อถือ                                     -           -         -
                   หมายเหตุ:  A  คือ เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปต้นแบบ
                              B  คือ เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปคู่แข่งที่ 1 สูตรผสมใยอาหาร 3.2%
                              C  คือ เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปคู่แข่งที่ 2 สูตรข้าวกล้อง

                              *  คือ ปัจจัยที่น ามาพิจารณาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
                              **  ค่าคะแนนเฉลี่ยค านวณจาก Geometric Mean =  n  N  N  N .....  N n
                                                                                     3
                                                                                2
                                                                           1

                   2.  ผลการด าเนินการประยุกต์ใช้เทคนิค QFD แบบสี่ช่วง (Four-phase model)

                       2.1 เมตริกซ์การวางแผนการผลิตภัณฑ์ (Product planning)
                          จากข้อมูลการวิจัยการตลาด เมื่อได้ข้อมูลค่าคะแนนความส าคัญของปัจจัยความต้องการของผู้บริโภค
                   (IMP) และข้อมูลการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ต้นแบบและคู่แข่ง (Rating) จึงเข้าสู่ขั้นตอนวางแผนผลิตภัณฑ์

                          ภาพที่ 4 แสดงเมตริซ์การวางแผนผลิตภัณฑ์  ผลค่าเฉลี่ยคะแนนความส าคัญ ( IMP) และค่าความชอบ
                   เฉลี่ยที่มีต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบและคู่แข่ง  (Rating)  ที่ได้มาจากการส ารวจความต้องการของผู้บริโภค พบว่า
                   ค่าเฉลี่ยระดับคะแนนความส าคัญ (IMP) ทั้ง 17 ปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความส าคัญต่อผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหาร
                   ส าเร็จรูปจากมากไปน้อย คือ คุณค่าทางโภชนาการที่ได้รับด้านปริมาณแคลเซียม ความง่ายในการชง (ชงง่าย
                   ละลายเร็ว)  ปริมาณวิตามินรวมต่างๆ  ปริมาณเส้นใยอาหาร   ราคาเหมาะสมกับคุณภาพโดยรวม ปริมาณไขมัน
                   ปริมาณโปรตีน ปริมาณน้ าตาล คุณค่าทางโภชนาการโดยรวม  ปริมาณพลังงานที่ได้รับ อายุของผลิตภัณฑ์  กลิ่น

                   รสตามธรรมชาติ  ให้ความรู้สึกอิ่มนาน  สีของเครื่องดื่ม  ระดับความหวาน สามารถเคี้ยวได้ และความข้นหนืด
                   ภายในปากของผลิตภัณฑ์ ตามล าดับ  ซึ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูปจะต้องค านึงถึง
                   ความส าคัญในปัจจัยทั้งหมดที่ผู้บริโภคให้ความส าคัญตามค่าความส าคัญ














                                                ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140