Page 131 -
P. 131
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
127
ปริมาณโปรตีนสูง (g.)
*A
*E * D
* G, F *C *B
I, J, H
ปริมาณเส้นใย ปริมาณเส้นใย
อาหารต่ า (g.)
อาหารสูง (g.)
ปริมาณโปรตีนต่ า (g.)
ภาพที่ 3 การวิเคราะห์ช่องว่างทางการตลาดระหว่างปริมาณโปรตีนและเส้นใยอาหาร
หมายเหตุ: ก าหนดจุดตัดเส้นที่เส้นใยอาหาร 0.25 กรัม และปริมาณโปรตีน 0 กรัม เนื่องจากเทียบกับปริมาณที่
ฉลากโภชนาการที่สามารถกล่าวอ้างได้ว่ามีปริมาณเส้นใยอาหารสูง ผลิตภัณฑ์จะต้องมีค่าปริมาณ
เส้นใยอาหารมากกว่า 20% ของ RDI (>0.25 กรัม) เมื่อคิดเทียบต่อ 100 กิโลแคลอรีที่ได้รับ
ปริมาณโปรตีนไม่ได้ก าหนด (กองฉลากโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2549)
1.2 การส ารวจข้อมูลความต้องการหลักของผู้บริโภคโดยใช้แบบสอบถาม
ในขั้นตอนนี้ได้ส ารวจข้อมูลความต้องการหลักของผู้บริโภค ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานที่น ามาประยุกต์ใช้ใน
เทคนิคการกระจายหน้าที่การท างานเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งสรุปผลได้ดังนี้
ก. ข้อมูลทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้บริโภคเครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปเป็นประจ าที่มีอายุตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไป
จ านวน 200 คน พบผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 71 มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี การศึกษา
สูงสุดระดับปริญญาตรี ร้อยละ 54 ส่วนมากเป็นนักศึกษา หรือมีอาชีพพนักงานบริษัท มีรายได้อยู่ในช่วง 5,000 -
30,000 บาทต่อเดือน ส่วนใหญ่มีจ านวนสมาชิกในครอบครัว 3 - 5 คน
ข. ผลคะแนนเฉลี่ยของปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคในเครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูป
ต้นแบบ แสดงดังตารางที่ 1
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์