Page 133 -
P. 133
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
129
ตารางที่ 1 (ต่อ)
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูป คะแนนเฉลี่ย**
7) ราคาเหมาะสมกับคุณภาพโดยรวมของผลิตภัณฑ์ * 7.22
8) ตราสินค้าน่าเชื่อถือ 7.10
9) ปัจจัยเพิ่มเติมที่มีผล ผลิตภัณฑ์สามารถชงในน้ าเย็นได้ (8)
ต่อความพึงพอใจ มีส่วนประกอบธัญพืชที่มีคุณค่า เช่น งาด า ข้าวโพด อื่นๆ (5)
รสชาติแปลกใหม่กว่าเดิม (2)
แถมอุปกรณ์ในการบริโภค เช่น ถ้วยร้อน ช้อน (2)
ตราสินค้า (2) มีรางวัลชิงโชค (1)
หมายเหตุ: คะแนนเฉลี่ยค านวณจากค่าคะแนน 1 หมายถึง ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจน้อยที่สุด หรือไม่มีผล
เลย และ 9 หมายถึง ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจมากที่สุด
* เป็นปัจจัยหลักที่จะน ามาพิจารณาในขั้นตอนการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
** ค่าคะแนนเฉลี่ยค านวณจาก Geometric Mean = N N N ... N
n
1 2 3 n
จากตารางที่ 1 พบว่าค่าเฉลี่ยระดับคะแนนความส าคัญ (IMP) ทั้ง 17 ปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความส าคัญต่อ
ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปจากมากไปน้อย คือ คุณค่าทางโภชนาการที่ได้รับด้านปริมาณแคลเซียม
ความง่ายในการชง (ชงง่ายละลายเร็ว) ปริมาณวิตามินรวม ปริมาณเส้นใยอาหาร ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ
โดยรวม ปริมาณไขมัน ปริมาณโปรตีน ปริมาณน้ าตาล คุณค่าทางโภชนาการโดยรวม ปริมาณพลังงานที่ได้รับ
อายุของผลิตภัณฑ์ กลิ่นรสตามธรรมชาติ ให้ความรู้สึกอิ่มนาน สีของเครื่องดื่ม ระดับความหวาน สามารถเคี้ยวได้
และความข้นหนืดภายในปากของผลิตภัณฑ์ ตามล าดับ ซึ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหารผง
ส าเร็จรูปจะต้องค านึงถึงความส าคัญในปัจจัยทั้งหมดที่ผู้บริโภคให้ความส าคัญตามค่าความส าคัญ ซึ่งค่าเฉลี่ยนี้จะ
เป็นข้อมูลน าเข้าในเมตริกซ์ HOQ ต่อไป
1.3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนความชอบที่มีต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบเทียบกับผลิตภัณฑ์คู่แข่ง
โดยผลิตภัณฑ์ต้นแบบ: ผลิตภัณฑ์ A, ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งที่ 1: ผลิตภัณฑ์ B, ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งที่ 2:
ผลิตภัณฑ์ C จากแบบสอบถามชุดที่ 2 จ านวน 50 ชุด มีผลดังนี้
ก. ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคโดยใช้แบบสอบถามชุดที่ 2 จะเป็นการ
เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในปัจจัยคุณภาพต่างๆ ของเครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปสูตรพื้นฐานและ
เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปคู่แข่ง 2 ตรา คือ เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูป สูตรผสมใยอาหาร 3.2% (ผลิตภัณฑ์
A) และเครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูป สูตรข้าวกล้อง (ผลิตภัณฑ์ B) โดยท าการส ารวจกับกลุ่มผู้บริโภคที่ดื่ม
เครื่องดื่มธัญญาหารส าเร็จรูปเป็นประจ า จ านวน 50 คน เป็นเพศหญิง ร้อยละ 70 มีอายุระหว่าง 21 - 25 ปี คิด
เป็นร้อยละ 28 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ร้อยละ 40 โดยมากเป็นนักศึกษาและอาชีพค้าขาย และมีรายได้
เฉลี่ยต่อเดือน 5,001 - 10,000 บาท
ข. การเปรียบเทียบคะแนนความชอบที่มีต่อปัจจัยต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ต้นแบบเทียบกับผลิตภัณฑ์
คู่แข่งทั้ง 2 ตรา โดยใช้แบบสอบถามชุดที่ 2
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์