Page 128 -
P. 128

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                              การประยุกต์ใช้เทคนิคการกระจายหน้าที่การท างานเชิงคุณภาพในงานพัฒนาผลิตภัณฑ์

                               เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูปจากปลายข้าวกล้องหอมมะลิและถั่วอะซูกิ
               124

               5.  การด าเนินประยุกต์ใช้เทคนิค QFD แบบสี่ช่วง (Four-phase model)

                       หลังจากได้ความต้องการหลักของผู้บริโภคจากการวิจัยตลาดในส่วนของปัจจัยที่ส าคัญที่มีผลต่อความพึง
               พอใจของผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูปและการเปรียบเทียบค่าคะแนนความชอบของผู้บริโภคที่มีใน
               แต่ละปัจจัยของผลิตภัณฑ์ต้นแบบเทียบกับผลิตภัณฑ์คู่แข่ง ข้อมูล  2  ส่วนนี้จะเป็นข้อมูลน าเข้า ( Input  data)  สู่
               ระบบ QFD แบบสี่ช่วงเพื่อท าการวางแผนผลิตภัณฑ์ในเมตริกซ์แรก คือ เมตริกซ์การวางผลิตภัณฑ์เพื่อการพัฒนา

               และปรับปรุงเครื่องดื่มธัญญาหารผงส าเร็จรูปต้นแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
               เมตริกซ์การวางแผนผลิตภัณฑ์หรือบ้านคุณภาพ ดังแสดงในภาพที่ 1


                      การวางแผนผลิตภัณฑ์  การออกแบบผลิตภัณฑ์  การวางแผนกระบวนการ  การวางแผนควบคุม
                                                                                           กระบวนการ


                      คุณลักษณะทางเทคนิค       คุณลักษณะของ         พารามิเตอร์         แผนการปฏิบัติงาน

                                                ส่วนประกอบ          กระบวนการ


                    ความ

                 ต้องการของ
                   ผู้บริโภค




                       ค่าความส าคัญของ       ค่าความส าคัญของ    ค่าความส าคัญของ       แผนการควบคุม
                      คุณลักษณะทางเทคนิค        ส่วนประกอบ           พารามิเตอร์          การปฏิบัติงาน





               ภาพที่ 1   รูปแบบของ QFD แบบ 4 ช่วง (Four-phase model)
               ที่มา: Cohen (1995)

                   5.1 เมตริกซ์การวางแผนผลิตภัณฑ์ (Product planning)
                       จากความต้องการของผู้บริโภค ( Customer  requirement) พร้อมระบุค่าเฉลี่ยระดับความส าคัญ ( IMP)

               และค่าเฉลี่ยระดับคะแนนเปรียบเทียบความพึงพอใจ  (Rating) ต่อผลิตภัณฑ์ต้นแบบและคู่แข่งจะถูกระบุลงช่องที่
               ก าหนด ซึ่งข้อมูลส่วนนี้ได้จากการท าวิจัยด้านการตลาด จากนั้นค่าเป้าหมายก าหนดจากระดับคะแนนเปรียบเทียบ
               ที่สูงที่สุด ส่วนอัตราส่วนการปรับปรุง คือ ค่าเป้าหมาย / คะแนนเปรียบเทียบของผลิตภัณฑ์ต้นแบบ น้ าหนัก
               ความส าคัญ คือ ผลคูณระหว่างค่าเฉลี่ยความส าคัญ (IMP) และอัตราการปรับปรุง ความต้องการผู้บริโภคส่วนนี้จะ
               ถูกแปลงเป็นข้อก าหนดทางเทคนิค ( Technical requirement) ซึ่งได้จากการท างานร่วมกับฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์
               จากนั้นก าหนดค่าเป้าหมายเพื่อการพัฒนาข้อก าหนดทางเทคนิค ( Target  values) ซึ่งความต้องการทางเทคนิค

               เหล่านี้จะถูกจัดล าดับความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้บริโภค โดยการระบุค่าคะแนนในเมตริกซ์ความสัมพันธ์
               ในลักษณะให้คะแนนความสัมพันธ์ระดับ  1,  3  และ 9  ซึ่งแทนระดับความสัมพันธ์น้อย ปานกลาง   และมาก
               ตามล าดับ (Shin  and  Kim,  2000)  การค านวณค่าความส าคัญของข้อก าหนดทางเทคนิคได้จากการรวมผลคูณ



               ชุติมา ไวศรายุทธ์ และ สุภาวดี วัชรอุดมมงคล
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133