Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                                                         การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
                                                                                                       119

                   กลุ่มนี้อาจใช้การออกก าลังกายหรือบริโภคอาหารที่มีแคลเซียมอื่นๆ อยู่แล้ว ดังนั้นจึงต้องท าการวิจัยผู้บริโภคกลุ่ม

                   นี้เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงและพฤติกรรมการซื้อเฉพาะกลุ่มเพื่อสรุปหาวิธีการที่ท าให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นว่า
                   ผลิตภัณฑ์นมแคลเซียมสูงมีคุณภาพดี มีราคาเหมาะสมเพื่อให้หันมาดื่มนมแคลเซียมสูงมากขึ้น

                          2.3 กลุ่มผู้บริโภคที่มีแรงกระตุ้นน้อย หรือเฉื่อย

                              กลุ่มผู้บริโภคกลุ่มนี้จัดเป็นกลุ่มที่มีความส าคัญน้อยที่สุด เนื่องจากมีความถี่ในการซื้อสินค้าต่อเดือน
                   เท่าๆ กันทุกระดับ และมีจ านวนเงินที่ใช้ในการซื้อต่อครั้งอยู่ในระดับสูง  ซึ่งจะมีพฤติกรรมการซื้อเป็นแบบซื้อไม่
                   บ่อยครั้ง แต่ในแต่ละครั้งจะซื้อในปริมาณที่ไม่น้อย  ลักษณะโดยรวมของผู้บริโภคในกลุ่มนี้คือจะมีอายุตั้งแต่  18 –
                   25  ปีในสัดส่วนร้อยละ  36 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีและประกอบอาชีพพนักงานบริษัท  มีรายได้ 5,000  –
                   10,000 และมากกว่า 2 0,000  บาทขึ้นไป  เนื่องจากผู้บริโภคกลุ่มนี้ไม่ค่อยให้ความส าคัญหรือให้ความส าคัญกับ
                   ปัจจัยทางการตลาดในระดับต่ ากว่าผู้บริโภคกลุ่มอื่นๆ และเห็นด้วยกับทัศนคติที่ดีต่อสินค้าและต่อสุขภาพ ในระดับ

                   ต่ ากว่ากลุ่มอื่นๆ ดังนั้นจึงควรเน้นให้ผู้บริโภคกลุ่มนี้เข้าใจถึงประโยชน์และความจ าเป็นของสินค้ามากกว่าการท า
                   การตลาดในด้านปัจจัยทางการตลาดอื่นๆ เช่น มีการประชาสัมพันธ์ถึงข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวกับโรคกระดูกพรุนใน
                   เพศชาย และประโยชน์จากการดื่มนมแคลเซียมสูง นอกจากนี้ผู้บริโภคยังเห็นด้วยกับทัศนคติเชิงลบในระดับที่สูง
                   กว่ากลุ่มอื่นๆ จึงควรท าการแก้ไขให้มีทัศนคติที่ถูกต้องโดยให้ความรู้ถึงประโยชน์และข้อดีของสินค้า และการใส่ใจ
                   สุขภาพที่ถูกต้อง


                                                      เอกสารและสิ่งอ้างอิง

                   กัลยา วาณิชย์บัญชา. 2546. การใช้  SPSS  for  Windows  ในการวิเคราะห์ข้อมูล. บริษัท ธรรมสาร  จ ากัด,
                       กรุงเทพฯ.
                                  . 2548. การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 4. บริษัท ธรรมสาร จ ากัด, กรุงเทพฯ.
                   ชวนชม วิสัยจร,  ยงยุทธ มัยลาภ,  พิสิษฐ์ ติวิสัย  และสง่า ดามาพงษ์. 2538. สื่อด้านอาหารและโภชนาการ: ท า

                       อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ .  ใน รายงานการประชุมโภชนาการ ครั้งที่ 38 น าความรู้สู่ปฏิบัติ .  ส านักพิมพ์
                       ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพฯ.
                   นภาภรณ์ ยุพงษ์ฉาย. 2544. ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมแคลเซียมของสตรี
                       กรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

                   สุทธิดา สุทธิศักดิ์. 2547. ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณแคลเซียมที่ได้รับจากการบริโภคของสตรีวัยหมดระดูที่เข้ารับ
                       บริการในโรงพยาบาลรัฐบาลในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                   สุภาพ พิทักษ์สมบัติ. 2542. พฤติกรรมผู้บริโภคนมไฮแคลเซียมในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้า อิสระ
                       ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
                   Brown, M.L.  1990. Calcium and Phosphorus. In: Present Knowledge in Nutrition. International Life
                       Sciences Institute-Nutrition Foundation, Washington, D.C. pp. 212-223
                                                                                               th
                   Churchill, G.A. and Iacobucci, D. 2002. Marketing Research Methodological Foundations, 8  ed. South-
                       Western College Pub., Ohio.
                                                                              nd
                   Malhotra, N.K. and Perterson, M. 2006. Basic Marketing Research, 2  ed. Prentice Hall, New Jersey.








                                                ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128