Page 106 -
P. 106

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                           4


                                                            รูปแบบและลักษณะพลวัตความยากจน


                      ต่อครัวเรือนในปี 2531 และ 4.4 คนต่อครัวเรือนในปี 2552 ในขณะที่ครัวเรือนกลุ่มออกจาก
                      ความยากจนมีขนาดของครัวเรือนเล็กลงคือจาก 5.5 คนต่อครัวเรือนเป็น 4.3 คนต่อครัวเรือนใน
                      ปี 2552 จึงกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงขนาดครัวเรือนมีความสัมพันธ์กับการเข้าและออกจาก
                      ความยากจนของครัวเรือน  มากกว่าผลต่อความยากจนเรื้อรัง (ตารางที่ 4.15)
                                          23


                       ตารางที่  4.15  ลักษณะเชิงโครงสร้างประชากรของครัวเรือน จำแนกตามกลุ่มพลวัตความ
                                   ยากจน



                                                        จนครั้งคราว

                                        จนเรื้อรัง  ออกจาก      เข้าสู่    ไม่เคยจน     รวม
                                                   ความจน      ความจน

                                      2531  2552  2531  2552  2531  2552  2531  2552  2531  2552
                       อายุหัวหน้า    53.8  66.5  48.1  62.3  44.2  69.8  50.8  59.8  49.7  62.5
                       ครัวเรือน (ปี)
                       เพศหัวหน้าครัวเรือน
                       (สัดส่วนหัวหน้า    17.0  38.0  16.0  35.0  26.0  53.0   9.0   32.0  14.4  34.9
                       ครัวเรือนเพศหญิง)

                       ขนาดครัวเรือน (คน)  5.3   5.0   5.5   4.3   4.5   4.4   4.7   4.0   5.0   4.3
                       จำนวนสมาชิกครัวเรือน (คน)
                         0-14          1.4   2.0   1.8   0.8   1.3   0.8   1.2   0.5   1.4   0.7

                         15-59         3.4   1.7   3.5   2.7   2.9   2.3   3.1   2.6   3.2   2.5
                         60+           0.7   1.3   0.4   0.9   0.8   1.3   0.5   1.0   0.6   1.1







                      23  ขนาดของครัวเรือนอาจมีความสัมพันธ์ทั้งในทางบวกและลบต่อการเข้าและออกจากความยากจน บางการศึกษาพบว่า
                        ขนาดของครัวเรือนเล็กจะทำให้มีการเข้าและออกจากความยาวจนสูงขึ้น (Jalan and Ravillion, 1998) ในขณะที่บางการ
                        ศึกษาพบว่าขนาดของครัวเรือนใหญ่จะเพิ่มการเข้าและออกจากความยากจน (McCulloch and Baulch, 2000) โดย
                        อธิบายได้ว่าขนาดครัวเรือนใหญ่จะก่อให้เกิดภาระในการเลี้ยงดูแลและส่งผลต่อฐานะความยากจนของครัวเรือน อย่าไร
                        ก็ดี หากมองในทางกลับกัน ขนาดครัวเรือนที่ใหญ่อาจจะมีผลดีโดยเฉพาะต่อครัวเรือนที่ต้องพึ่งพาแรงงานในการทำ
                        การเกษตร






                                                                                            105
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111