Page 35 -
P. 35
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 3 เสียงสระ
28
ฟงเปนเกณฑในการพรรณนาเสียง โดยมีมโนภาพตําแหนงลิ้นในปาก ซึ่งคงจะวาดมโนภาพในปากจาก
คุณภาพของเสียงที่ไดยิน
นักสัทศาสตรจะเรียกความสูงต่ําของเสียงสระตามตารางความถี่สั่นพองที่หนึ่งวา “ความสูงต่ํา
ของเสียงสระ” (vowel height) แทนที่จะเรียกตามการออกเสียงวา “ความสูงต่ําของลิ้นในปาก” (tongue
height) และเรียกความเปนหนาหลังของสระตามตารางความถี่สั่นพองที่สองวา “ความเปนหนาหลังของ
เสียงสระ” (vowel backness) แทนที่จะเรียกตามการออกเสียงวา “ความเปนหนาหลังของลิ้นในปาก”
(tongue backness) และเรียกกรอบหนาหลังและสูงต่ําของเสียงสระวา “ปริภูมิสระ” (vowel space)
3.3 เสียงสระตางๆ
Front Central Back
Close i y Ó u
Close-Mid e ø c Π ( o
Open-mid ' œ « ¬ ¡ n
æ m
Open a # b
ภาพที่ 3.4 เสียงสระตางๆ จาก IPA 1996
(ในปริภูมิสระ Close = High, Close-mid = Mid-High, Open-mid = Mid-Low, Open = Low)
i = สระสูงหนา (high front vowel) หรือ สระปดหนา (close front vowel)
e = สระ (ปด) กลาง-หนา ((close)-mid front vowel)
' = สระ (เปด) กลาง-หนา ((open)-mid front vowel)
a = สระต่ํา-หนา (low front vowel) หรือ สระเปด-หนา (open front vowel)
b = สระต่ํา-หลังหอปาก (low back rounded vowel) หรือสระเปดหลังหอปาก
(open back rounded vowel)
n = สระ (เปด) กลาง-หลังหอปาก ((open)-mid back rounded vowel)
o = สระ (ปด) กลาง-หลังหอปาก ((close)-mid back rounded vowel)
u = สระสูง-หลังหอปาก (high back rounded vowel) หรือ สระปด-หลังหอปาก
(close back rounded vowel)