Page 33 -
P. 33

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                           26
                                   สัทวิทยา :  การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                             บทที่ 3 เสียงสระ



                                                      (17)  (18)

                           close                   (9)  y          Ó Œ      • (16)

                           half-close            (10) ø            (  (15)

                                                (11)œ                       ¡  (14)
                           half-open
                           open                      (12)            b  (13)


                                                      ภาพที่ 3.3  สระมาตรฐานชุดรอง


                          3.2 สระจัดตามคุณลักษณะทางกลสัทศาสตร  (Acoustic Vowel)

                                 ในปจจุบันเราสามารถพรรณนาเสียงสระตางๆ ไดอยางมีหลักเกณฑโดยใชคุณภาพเสียงทาง    กล
                          สัทศาสตร  คือใชคาความถี่สั่นพอง (formant frequencies) ของสระเปนตัวกําหนดสระ  ดังที่กลาวขางตน
                          ในการออกเสียงสระตางๆ การเคลื่อนที่ของลิ้นและลักษณะการหอปากทําใหชองเสียงมีลักษณะแตกตาง

                           กันออกไป กอใหเกิดความถี่สั่นพองของคลื่นเสียงในลักษณะที่แตกตางกัน ซึ่งเราสามารถไดยินเปน
                          คาความถี่สั่นพองที่ตางกันไปตามเอกลักษณของสระแตละตัว  นักกลสัทศาสตรไดจําแนกคาความถี่สั่น
                           พองที่หนึ่ง  และคาความถี่สั่นพองที่สองของเสียงสระตางๆ และจัดทําเปนตารางความถี่ใชบอก

                           ความสัมพันธสัมพัทธของเสียงสระดังนี้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38