Page 37 -
P. 37
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 3 เสียงสระ
30
3.4 สระประสม
คือลักษณะที่แกนพยางคประกอบดวยเสียงสระมากกวาหนึ่งเสียง โดยมีลักษณะแตกตางยอยดังนี้
(Clark & Yallop1995:67,72-74)
3.4.1 สระประสมสองเสียง (diphthong)
ประกอบดวยสระสองเสียงใน 3 ลักษณะ
3.4.1.1 สระสองเสียงมีความเดนเทาเทียมกัน
สระทั้งสอง เปนเปา (target) ของการออกเสียง โดยใหความยาวนาน
ของเสียงแตละสระเทาเทียมกัน เชน [o7] ในคําวา ‘boat’ ‘เรือ’ ในภาษาอังกฤษ เปนตน
3.4.1.2 เนนสระเสียงที่สอง (on glide)
สําหรับสระเสียงแรกลิ้นเคลื่อนผานไปรวดเร็วเพื่อเนนสระเสียงหลัง
เชน [i] ในคําวา ‘sea’ ‘ทะเล’ ในภาษาอังกฤษบางสําเนียง เปนตน ในกรณีเชนนี้ สระเสียงแรกลดรูป
(reduced) และเกริ่นนําสระเสียงที่ 2 ซึ่งเปนเปาฐานกรณ (target articulation)
3.4.1.3 เนนสระเสียงแรก (off glide)
สําหรับสระตัวแรกเนนและผานสระที่สอง ไปอยางรวดเร็วปดทาย
เสียง เชน [n ] ในคําวา ‘or’ ‘หรือ’ ในภาษาอังกฤษบางสําเนียง เปนตน ในทํานองกลับกันกับ 3.4.1.2
สระเสียงที่สองลดรูปและปดทายสระตัวแรกซึ่งเปนเปาฐานกรณ
3.4.2 สระประสมสามเสียง (tripthong)
สระทั้งสามทําหนาที่รวมกันเปนแกนพยางค เชน [a+] ในคําวา ‘hire’ ‘จาง’
ในภาษาอังกฤษบางสําเนียง เปนตน
3.4.3 สระกับเสียงกึ่งสระ (vowel and semi-vowel)
กรณีที่เสียงสระตัวใดตัวหนึ่งในสระประสมสองหรือสามเสียง เปนเสียงไมเนน
ประกอบกับลักษณะโครงสรางพยางคของภาษาบงชี้หนาที่ของสวนทายพยางค หรือตนพยางค เสียงสระ
นั้นๆ ในสระประสมจะทําหนาที่เปนเสียงกึ่งสระในฐานะพยัญชนะปดทายพยางค หรือพยัญชนะตน
พยางค เชน [ iau] [ iaw] ในคําวา ‘เดียว’ , [ Óai] [ Óaj] ในคําวา ‘เดือย’ ในภาษาไทย เปน
ตน
3.5 การออกเสียงซอน (Complex articulation)
เปนการออกเสียงสระควบคูไปกับการออกเสียงในลักษณะอื่นๆ ดังนี้