Page 38 -
P. 38

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                                   สัทวิทยา :  การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                             บทที่ 3 เสียงสระ   31


                                 3.5.1 สระกึ่งนาสิก (Nasalized vowel)

                                        v    คือสียงสระที่ออกเสียงรวมกับการเปดชองจมูก (velum) ใหลมผานชองจมูกออกไป
                          ได เชน เสียง [æ ]  ในคําวา ‘can’t’  [ka nt]  ‘ทําไมได’ ในภาษาอังกฤษ เปนตน

                                 3.5.2 สระกึ่งลมแทรก (breathy vowel)

                                        v    คือเสียงสระที่มีสภาวะกลองเสียงในลักษณะมีเสียงลมแทรกควบคูไปดวย เชน คําใน
                          ภาษากุจราตี  (Gujarati)  ba r  “ขางนอก”, m' l  “พระราชวัง”  เปนตน

                                 3.5.3 สระกึ่งเสียงต่ําลึก (creaky vowel)

                                        v     คือเสียงสระที่มีสภาวะกลองเสียงในลักษณะเสียงต่ําลึกควบคูไปดวย เชน ภาษา
                           อินเดียนแดงมาซาเต็ค (Mazatec) ndæ ¸   “สะโพก”  เปนตน

                                 3.5.4 สระเสียง “อาร”

                                        v²   คือเสียงสระที่มีการออกเสียงควบคูกับการตลบลิ้น หรือมวนลิ้น เชนเสียง [‹²] ใน
                          คําวา ‘bird’ ‘นก’ ในภาษาอังกฤษ เปนตน

                           3.6 ระบบเสียงสระตางๆ (Vowel System of World Languages)

                                        จากการศึกษาระบบเสียงสระในภาษาตางๆ ทั่วโลก แลดเดอโฟก และแมดดิสัน
                          (Ladefoged และ Maddieson, 1996) สรุปวา คุณสมบัติทางสรีระของการออกเสียงหรือสัทลักษณ ตอไปนี้
                          มีผลตอการออกเสียงสระในภาษาตางๆ


                                        (1)     ความสูงของตําแหนงสูงสุดของลิ้นในปาก (height) ซึ่งเทียบเคียงในเชิงผกผัน
                          กับคาความถี่สั่นพองที่หนึ่ง (F )  และมีระดับความตางไดถึง 5  ระดับในตัวอยางภาษา เชน ภาษาถิ่น อัม
                                                  1
                           สเต็ตตัน (Amstetten)  ของภาษาบาวาเรียน (Bavarian)  มีสระหนาไมหอปาก 5  เสียง [ i  , e  , '  , æ  , a ]
                           (ขอมูลจาก TraunmuAller, 1982)


                                        (2)    ความเปนหนาหลังของตําแหนงสูงสุดของลิ้นในปาก (backness) ซึ่งเทียบเคียง
                          กับคาความถี่สั่นพองที่สอง (F )  และมีระดับความตางได 3  ระดับ ในตัวอยางภาษาจริง เชน ภาษาไทย มี
                                                 2
                           สระสูงหนา กลางและหลัง [ i , Ó , u ] เปนตน

                                        (3)    การหอปาก (rounding)  ซึ่ง แลดเดอโฟกและแมดดิสัน พบวา มี 2  ตัวแปร
                          ของการหอปาก คือ การกดตามแนวดิ่งของริมฝปากทั้งสอง (verticle  compression)  และการยื่นริมฝปาก
                          (protrusion) ตัวแปรทั้งสองรวมกันทําใหมีลักษณะการหอปากที่แตกตางกันถึง 4 ลักษณะ ที่พบในตัวอยาง

                          ภาษา เชน    ภาษาสวีเดน (Swedish)  มีสระสูง 3  เสียง [ i, y, Œ ]  ,  ภาษาอีไอ (Iaai)  มีสระสูง 3  เสียง
                           [ i, y, u ] และมีสระกลาง 4 เสียง [ e, ø , o, ( ] เปนตน(Ladefoged & Maddieson,1996:293-295)

                                        ขอสรุปก็คือ ความเปนไปไดของความแตกตางของเสียงสระจาก (1) – (3) ขางตนมีได
                           ถึง 5x3x2x2 = 60 เสียง (Ladefoged & Maddieson, 1996: 282-297)
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43