Page 34 -
P. 34
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 3 เสียงสระ 27
ตารางที่ 3.1 ความสัมพันธของเสียงสระในภาษาอังกฤษ (American English) ตามคาความถี่สั่นพองที่ 1
และ 2
F – F (Hertz) ความถี่สั่นพองที่ 2 – ความถี่สั่นพองที่ 1
2 1
2000 1800 1600 1400 1200 1000 900 800 700 600 500 400 300
•
i 300
•
u
• + 400
• 7
500 ความถี่สั่นพองที่ 1
• '
• n
600
• æ • # 700
800
900
F (Hertz)
1
ที่มา: ดัดแปลงจาก Ladefoged (1993: 197)
นักสัทศาสตรพบวา ตารางความสัมพันธสัมพัทธของเสียงสระมีคาความถี่สั่นพองที่หนึ่งผกผัน
กับความสูงของสระซึ่งพรรณนาตามการออกเสียงสระ และมีคาความถี่สั่นพองที่สองหรือความถี่สั่นพอง
ที่สองลบความถี่สั่นพองที่หนึ่ง เปนสัดสวนกับการเปนหนาหลังของเสียงสระซึ่งพรรณนาตามการออก
เสียง คือตามตําแหนงของลิ้นในปาก
ความคลายคลึงของตารางความถี่สั่นพองกับการอธิบายเสียงสระตามที่นิยมกันโดยใชตําแหนง
ของลิ้นในปากเปนเกณฑนั้น อาจเปนเครื่องชี้ใหเห็นวานักภาษาศาสตรและนักสัทศาสตรที่ใชหูและการ