Page 31 -
P. 31
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
24
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 3 เสียงสระ
บทที่ 3
เสียงสระ
เสียงสระเปนเสียงที่ออกโดยไมมีการสกัดกั้นทางเดินของลมในชองคอหรือชองปาก
ลมปอดผานกลองเสียงขึ้นมาทางหลอดเสียงและผานออกทางปาก ความดันในชองปากมีนอยกวา
ความดันใตกลองเสียง ประกอบกับเสนเสียงอยูในภาวะหยอนพอเหมาะที่จะสั่น เสียงสระจึงเปนเสียง
โฆษะ เสียงสระอโฆษะก็มี แตไมไดใชในภาษาสวนมาก รวมทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษดวย นอกจาก
ในการพูดแบบกระซิบ
เสียงสระตางๆ เกิดจากการเคลื่อนที่ยกระดับสูงต่ําไปขางหนาหรือขางหลังของลิ้นในชองปาก
ประกอบกับการเปลี่ยนลักษณะของการหอปาก การเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงของอวัยวะเหลานี้มีผลทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะและความยาวของชองเสียง ตั้งแตกลองเสียงผานชองคอ ชองปากขึ้นมา
จนถึงริมฝปาก กอใหเกิดความถี่สั่นพองของคลื่นเสียงจากชองเสียงในลักษณะตางๆ กัน ยังผลใหเกิด
เสียงที่เราไดยินแตกตางกันไปตามลักษณะของความถี่สั่นพองนั้นๆ
ภาพที่ 3.1 ตัวอยางลักษณะสูง ต่ํา หนา หลังของลิ้นในการออกเสียงสระตางๆในภาษาอังกฤษ
จากภาพที่ไดจากการฉายแสง
ที่มา: Ladefoged (1993 : 12)