Page 27 -
P. 27

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                           20     สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                   บทที่ 2   เสียงพยัญชนะ

                                        ทั้งนี้ ลิสเกอรและอับบรัมสัน เสนอใหนับที่ฐานกรณเปดเปนจุดหลัก คือ ถือเปนเวลา

                           ศูนย  ทั้งสองพบวา คาวีทีโอของเสียงกักทั้งสามประเภทแจกแจงคาสูงสุด  และต่ําสุดในคําเดี่ยว  ไดดังนี้

                                        กักโฆษะ             ประมาณ –125 ถึง –75        มิลลิเซคเคินด

                                                            (-.125  ถึง -.075  วินาที)
                                        กักอโฆษะสิถิล       ประมาณ 0  ถึง 25                      “
                                                            (0  ถึง 0.025  วินาที)

                                        กักอโฆษะธนิต        ประมาณ 60 ถึง 100          มิลลิเซคเคินด
                                                            (0.06  ถึง 0.10  วินาที)


                                 2.5.1  เสียงกักโฆษะ  (Voiced Stop)

                                               เชนเสียง  b , d   สําหรับเสียงเหลานี้โดยทั่วๆ ไป  เสนเสียงสั่นตลอดชวงเวลา

                           ที่ปดฐานกรณ  และเมื่อเปดฐานกรณ เสนเสียงก็ยังคงสั่นตอไปเนื่องจากเสนเสียงเริ่มสั่นกอนเปดฐานกรณ
                           ชวงเวลาตั้งแตจุดที่ฐานกรณเปดจนถึงจุดที่เสนเสียงเริ่มสั่นจึงเปนการนับเวลายอนหลัง คือ คาวีโอทีเปน
                           คาติดลบ บางทีก็เรียกวา  Voicing Lead  หรือ เสียงเริ่มกอนเปดฐานกรณ


                                        เวลา          ________________________________
                                                                                                           0

                                                                    วีโอทีคาลบ


                                        ฐานกรณ       ________________________________
                                                            จุดปด        จุดเปด


                                                                   กักลม
                                        เสนเสียง

                                                            จุดเริ่มสั่น




                                   ภาพที่ 2.6   ความสัมพันธระหวางเสนเสียงและฐานกรณกับเวลา  สําหรับเสียงกักโฆษะ   [b]
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32