Page 22 -
P. 22

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                                สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                   บทที่ 2   เสียงพยัญชนะ  15

                                 2.3.8  เสียงนาสิก (Nasal stop)


                                        เกิดจากการกักลมที่ฐานกรณในบริเวณปาก  แตปลอยลมใหออกทางชองจมูก  โดยเปด
                           ชองจมูกในขณะที่เปดฐานกรณ  เสียงชนิดนี้จึงถือเปนเสียงกักแตเปนเสียงนาสิกเชนเสียง  m, n, 0 เปนตน









                                                    ชองจมูก
                                                 ฟน  เพดานแข็ง   เพดานออน
                                                              ลิ้นไก
                                                      ลิ้น


                                                    ลิ้นปดกลองเสียง
                                                            ผนัง
                                                            คอ

                                                                ชองเสนเสียง
                                           1=ริมฝปากทั้งสอง ,2=ฟนบนกับริมฝปากลาง, 3=ระหวางฟน, 4=ปุมเหงือก,
                                            5=ปุมเหงือกและเพดานแข็ง,     6=เพดานออน, 7=ลิ้นไก, 8=ชองเสนเสียง


                                                        ภาพที่ 2.2  ฐานกรณตางๆ
                                                ที่มา: ดัดแปลงจาก Fromkin & Rodman (1993)

                                 เสียงลักษณะตางๆ ที่กลาวมาขางตนนี้ยังแบงออกเปนเสียงโฆษะ (voiced)   และอโฆษะ
                           (voiceless) ดังนี้ :

                                 2.3.9  เสียงโฆษะ (voiced)

                                        คือเสียงที่เกิดโดยที่เสนเสียงสั่น  โดยมีความถี่ของเสียงเทากับความถี่ของการสั่นของ
                           เสนเสียง  ความถี่นี้ก็คือเสียงที่เราไดยินนั่นเอง  เชน เสียง  b, d, w, n, m, j , l , r เปนตน
                                        การที่เสนเสียงสั่นนั้นเกิดจากความแตกตางของความดันของลมใตกลองเสียง

                           ( sub-glottal pressure ) และความดันของลมเหนือกลองเสียง ( supra-glottal pressure ) หรือ บางทีเรียกวา
                           ความดันในชองปาก ( oral หรือ mouth pressure ) ในการออกเสียงเปด ( approximant ) คือ เสียงที่ลมผาน
                           ไดตลอด  มีการสกัดกั้นชองลมในชองปากนอยมาก เชน เสียงประเภท กึ่งสระ เสียงลิ้นกระทบ เสียงขาง

                           ลิ้น (  รวมทั้งเสียงสระตางๆดวย )  ความดันลมในชองปากจะมีนอย เนื่องจากลมไหลผานออกขางนอก
                           ไดตลอด
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27