Page 20 -
P. 20

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                                สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                   บทที่ 2   เสียงพยัญชนะ  13

                           2.2.6  มวนลิ้น  (Retroflex)

                                        ใชปลายลิ้นตวัดกลับแตะตรงบริเวณปุมเหงือก เชน Ü , Ç , Ô เปนตน
                           2.2.7  เพดานแข็ง  (Palatal)

                                        ใชลิ้นสวนหนาเขาหาเพดานแข็ง เชน เสียง j , Õ , c เปนตน
                           2.2.8  เพดานออน  (Velar)
                                        ใชลิ้นสวนหลังสัมผัสหรือ เขาใกลเพดานออน เชน เสียง  k , k , I , x , ¢Ÿ   เปนตน
                                                                                      h
                           2.2.9  ลิ้นไก (Uvular)
                                        ใชลิ้นไกกับลิ้นสวนหลัง เชน เสียง   q , ) , ¯ , ’  เปนตน
                           2.2.10  ชองเสนเสียง ( Glottal)

                                        โดยการปดเสนเสียงสนิท ไดแก เสียงกักเสนเสียง /  หรือ เปดเสนเสียงออกกวางไดแก
                                 เสียง h, ×  เปนตน

                           2.2.11  ผนังคอ (Pharyngeal)
                                        ใชผนังคอกับโคนลิ้น  เชน Í , ž เปนตน
                           2.2.12  ลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal)

                                        ลิ้นปดกลองเสียงปด และผนังคอลนเขา เชน   —  เปนตน

                                 สังเกตวามีฐานกรณสําคัญหลายฐานกรณ  เชน  ลิ้นไก (Uvular)  ลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal)

                           และผนังคอ (Pharyngeal)    ซึ่งใชในภาษาอื่นๆ แตไมพบในภาษาไทย  แทจริงแลวฐานกรณอาจจะเปน
                           จุดใดจุดหนึ่งในชองเสียง  คือตั้งแตริมฝปากลงไปจนถึงลําคอ จนถึงกลองเสียง  แตเปนที่นาสังเกตวาภาษา
                           ตางๆ ทั่วโลกมักจะใชฐานกรณสําคัญๆ เดนๆ เพียงไมกี่ฐานกรณคลายคลึงกัน


                                 เคนเน็ธ สตีเวน (Steven,1971)  ไดอธิบายในทฤษฎี  Quantal  Theory    วาสาเหตุที่ฐานกรณ

                           บางฐานกรณปรากฏมากในภาษาตางๆ นั้น คงจะสืบเนื่องมาจากคุณสมบัติของเสียง (ทางกลสัทศาสตร)
                           คือวาฐานกรณสําคัญๆ เชนริมฝปากทั้งสอง (bilabial)  ปุมเหงือก (alveolar)  เพดานแข็ง (palatal)
                           และเพดานออน (velar) นั้นมีคุณสมบัติทางเสียงที่เดนกวา ( salience )  เสียงที่ไดจากจุดอื่นๆ ในบริเวณ

                           ใกลเคียงกัน ความเดนนี้  ทําใหผูฟงสามารถไดยินเสียงนั้นไดชัดเจน  ทําใหสามารถแยกจําแนกเสียงไดดี
                           ซึ่งถาเรามองดูภาษาพูด วาเปนการพูดเพื่อใหเกิดการไดยิน  เพื่อกอใหเกิดความเขาใจคือเพื่อสื่อความหมาย
                           แลวก็จะเห็นวา   การพิจารณาเอาคุณภาพของเสียงมาชวยในการพูดนี้ ชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวาง

                           สรีรวิทยาของการออกเสียง และคุณสมบัติของเสียงกับโสตประสาทในการรับฟงรับรูเสียง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25