Page 41 -
P. 41

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                           34   สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                          บทที่ 4  สัทลักษณ



                                 ฉะนั้นเราจะพบวาเสียงที่สามารถจัดกลุมรวมกันได  จะตองมีสัทลักษณรวมกันอยางนอยหนึ่ง
                           สัทลักษณ และเสียงที่รวมกลุมกันไมไดนั้นเพราะไมมีคุณสมบัติที่รวมกันอยูเลย  เราเรียกเสียงที่จัดรวมกัน

                           เปนกลุมไดวากลุมเสียงธรรมชาติเดียวกัน (natural class)

                                 เมื่อคาบวกคาลบของสัทลักษณที่จําแนกเสียงสองเสียงออกจากกัน  กลับกลายและเกิดไมมี
                           ความแตกตางกันขึ้น ณ ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งของคําหรือพยางค  กลาวคือกลายเปนคาบวกหรือคาลบ

                           เหมือนกัน ณ ตําแหนงนั้น  เรากลาววาเสียงทั้งสองนั้นกลายเปนเสียงเดียวกัน  (neutralized)  ในตําแหนง
                           นั้นๆ ตัวอยางเชน       ในภาษาไทย หนวยเสียง / p* / และ  / p / มีคาสัทลักษณเสนเสียงเปดกวาง  [spread
                           glottis]  หรือ  aspiration  ตางกัน คือเปนหนวยเสียงที่ตางกัน (opposition)  โดย / p* /   มีคา [+spread

                           glottis]  และ  / p /   มีคา [-spread glottis] เสียง / p* /และ  / p / กลายเปนเสียงเดียวกันคือ [p] ที่ตําแหนง
                           ทายพยางคคือตางมีคาสัทลักษณ [-spread glottis] เหมือนกัน เชน “ภาพ” [ p a¼Öp  ]  และ “บาป” [ ba∃Öp ]
                                                                                   h
                           เปนตน


                                 เราพอจะสรุปคุณสมบัติของสัทลักษณไดดังนี้ (Schane, 1973: 33-34)


                                (3)       ก.    สัทลักษณ นิยามหนวยเสียง

                                         ข.  สัทลักษณ จําแนกเสียงออกจากกัน
                                         ค.  สัทลักษณ อธิบายสาเหตุธรรมชาติของการแปรเสียง
                                         ง.  สัทลักษณ จัดกลุมเสียงธรรมชาติ


                           4.2 สัทลักษณตางๆ


                                 ชอมสกี้และแฮลีในหนังสือ The Sound Pattern of English (1968) หรือยอๆ วา เอสพีอี (SPE) ได
                           เสนอสัทลักษณตางๆ สําหรับภาษาอังกฤษ และตอมาแฮลีและสตีเวน (Halle & Stevens, 1972)   ได

                           เสนอสัทลักษณที่เกี่ยวของกับกลองเสียง (laryngeal features) เพิ่มสําหรับอธิบายลักษณะกลองเสียงในการ
                           เปลงเสียงและเราใชสัทลักษณทั้งสองชนิดในตารางขางลางนี้

                                 กอนหนานี้ ยาคอบสันและแฮลี (Jakobson & Halle, 1956)  และฟานต (Fant,  1966)  ไดศึกษา
                           คุณสมบัติทั้งทางสรีระการออกเสียงและกายภาพเชิงกลสัทศาสตร  และไดเสนอสัทลักษณอธิบาย
                           คุณสมบัติรวมของเสียงพยัญชนะและเสียงสระ (Jakobson , Fant  และ  Halle,  1952)  อาจกลาวไดวา

                           ยาคอบสันเปนผูเริ่มศึกษาเรื่องการจําแนกเสียงโดยสัทลักษณ  ซึ่งเปนสวนประกอบยอยของหนวยเสียง
                           ในยุคตนของทฤษฎีเพิ่มพูน  ยาคอบสันเองไดรับอิทธิพลเรื่องการจําแนกความแตกตางของเสียงนี้

                           จากทรูเบทสคอย (Trubetzkoy)  ซึ่งเปนนักภาษาศาสตรยุกตปลายทฤษฎีโครงสราง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46