Page 44 -
P. 44
โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา บทที่ 4 สัทลักษณ 37
[syll] ยอมาจาก syllabic
หมายถึง เสียงที่เปนแกนพยางค คือ เสียงที่ทําหนาที่เปนแกนพยางค ไดแกเสียงสระตางๆ
รวมทั้งเสียงพยัญชนะที่ทําหนาที่เปนแกนพยางคดวยเชน [nB, mB, lB, rB ] เปนตน
[son] ยอมาจาก sonorant
หมายถึงเสียงที่มีลมผานตลอด คือ เสียงที่ชองเสียงไมไดมีการสกัดกั้นทางเดินของลมปอดและ
มีพลังเสียงมาก ไดแก เสียงสระตางๆ เสียงนาสิก เสียงเหลว และกึ่งสระ
[nas] ยอมาจาก nasal
หมายถึง เสียงนาสิก คือเสียงที่มีการกักลมที่ชองปาก ณ จุดของฐานกรณ แตปลอยใหลมผาน
ชองจมูกไดตลอดในขณะที่กักในชองปาก โดยเปดชองที่เพดานออน (velum) ในสวนหลังของปาก ไดแก
[m, n, 0] เปนตน
จะเห็นวา สัทลักษณทั้งสี่ คือ consonant, syllabic, sonorant และ nasal จําแนกกลุมเสียงตางๆ
ขางตนนี้ออกจากกันไดหมด ขณะที่ semi-vowel หรือ glide ถูกจัดโดยนักภาษาศาสตรหลายทาน
เชน เชน (Schane,1973) แฮลีและคลีเมนส (Halle & Clements,1985) เปนเสียงที่ไมใชพยัญชนะและไมใช
แกนพยางค คือ [-cons] และ [-syll] แตในความตางระหวางเสียงกึ่งสระ (glide) กับสระ (vowel)
อยูที่ตําแหนงหนาที่ในโครงสรางพยางค (syllable structure) ซึ่งเราจะศึกษาตอไป เราพบวาเสียงกึ่งสระ
(glide) ทําหนาที่เปนสวนที่เปนพยัญชนะตนหรือพยัญชนะทายพยางค ขณะที่สระ (vowel) ทําหนาที่
เปนแกนพยางค ฉะนั้นจึงเห็นไดชัดเจนวา ความตางระหวางคูเสียงกึ่งสระและสระซึ่งมีฐานกรณเดียวกัน
เชน w และ u หรือ j และ i ในแตละคูเสียง ก็คือตําแหนงหนาที่ในพยางค กลาวคือ w และ j
ทําหนาที่เปนสวนของพยัญชนะตนหรือทายพยางค ขณะที่ u และ i ทําหนาที่เปนแกนพยางค เราจึงจัด
เสียงกึ่งสระ (glide) ใหเปน [+cons –syllabic]
4.2.2 สัทลักษณสําหรับฐานกรณ
ตารางที่ 4.3 สัทลักษณแสดงฐานกรณของเสียงพยัญชนะและสระ
p f 6 t t 5 c k q ! i Ó e æ u o n a
ant + + + + + - - - - - -
cor - - + + + + + - - - -
R + + - - - - - - - - - - - - - + + + -
H + + + - - - + + - - + - - -
B + + + - + - - + + + +
L + - - - + - - + +