Page 46 -
P. 46

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี



                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                          บทที่ 4  สัทลักษณ   39



                           4.2.3  สัทลักษณสําหรับลักษณะการออกเสียง  (manner of articulation)

                           ตารางที่ 4.4 สัทลักษณแสดงลักษณะการออกเสียงของเสียงพยัญชนะ

                                      p     f     t    6    t    s     ts   5    x     k    :    —
                             cont     -     +     -    +    -    +     -    +    +     -    +     -
                             strid          +          -         +     -    +     -         +

                             del rel  -     -     -    -    -     -    +    -     -    -    -     -
                             son      -     -     -    -    -     -    -    -     -    -    -     -

                           [cont] ยอมาจาก continuant

                                 หมายถึง  ชองเสียงเปดกวางใหลมปอดผานตลอดในแนวตั้งฉากกับลําตัว (midsaggital)  ในชอง
                           ปาก  ไดแกเสียงกึ่งสระ (semi-vowel)  เสียงลิ้นสะบัด (flap)  เสียงรัว (trill)  และเสียงเสียดแทรก
                           ( fricative ) สัทลักษณ [cont] แยกเสียงกัก (stop) จากเสียงเสียดแทรก (fricative) เชน [ p ] จาก [ f ] และ

                           [ t  ] จาก [ 6 ] , [ t ] จาก [ s ] เปนตน

                           [strid] ยอมากจาก strident
                                 หมายถึง เสียงเสียดแทรกที่มีการสกัดกั้นลมแบบซับซอน  คือลมแทรกที่ผานฐานกรณจะกระทบ
                           พื้นผิวที่กั้นขวางทําใหเกิดเสียงแทรกที่มีความเขมขนสูง เชน f , s, :  ซึ่งกระทบฟน,  ปุมเหงือก และ

                           ลิ้นไก  ตามลําดับ
                                 สัทลักษณ [ strid ]  แยกคูเสียงเสียดแทรกตอไปนี้ได ระหวางริมฝปากลางกับฟนบน      (labio-
                           dental)  และระหวางฟน (inter-dental),  ปุมเหงือก (alveolar)  และระหวางฟน (inter-dental),  ลิ้นไก

                           (uvular) และเพดานออน (velar) แตไมสามารถแยกคูเสียงปุมเหงือก (alveolar) และปุมเหงือก-เพดานแข็ง
                           (alveo-palatal) ได

                           [del rel]  ยอมาจาก delayed release
                                 หมายถึง เสียงที่เกิดจากการกักลมแลวคอยปลอยฐานกรณใหลมเสียดแทรกผานได  ซึ่งปลอยชา

                           กวาการสกัดลมแบบเสียดแทรก  เปนการปลอยที่ลาชาเพราะตองปลอยหลังกักลมไวกอน  ไดแกเสียงกึ่ง
                           เสียดแทรก (affricates) ทั้งหลาย เชน  [ ts , t5 , dz]  เปนตน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51