Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          50



                          สวนใหญมาจากอาหารหยาบ      เปนสวนของผนังเซล ( Cell  Walls ) ของพืชอาหารสัตว   ไดแก

                   Cellulose   และ  Hemicellulose    ซึ่งจุลินทรียสามารถยอยได   แตน้ํายอยจากสัตวไมสามารถยอยได
                   คารโบไฮเดรตกลุมนี้มีความสําคัญมากเพราะนอกจากจะเปนแหลงพลังงานแกโคแลว       ยังเปนตัวที่ทําให

                   โคเคี้ยวเอื้องและหลั่งน้ําลายไดมากเปนประโยชนตอจุลินทรียในกระเพาะรูเมน

                              •  คารโบไฮเดรตที่อยูภายในเซล   ( Non  Structural  Carbohydrates )

                          สวนใหญมาจากอาหารขนโดยเฉพาะเมล็ดธัญพืชตาง ๆ   ไดแก   พวกแปง  ( Starch )     ,   น้ําตาล
                   ( Sugar ) และ  Pectins  ซึ่งสามารถยอยไดงายดวยน้ํายอยจากสัตว        คารโบไฮเดรตกลุมนี้มีประโยชนทั้ง

                   ที่เปนแหลงพลังงานที่ยอยงาย      เพื่อใหจุลินทรียบางกลุมเพิ่มปริมาณไดมากขึ้นและยังเปนแหลงพลังงาน

                   ใหแกสัตวโดยตรง  สําหรับการยอยคารโบไฮเดรตโดยจุลินทรียในกระเพาะอาหารสวนหนาเมื่อถึงขั้นตอน
                   สุดทายจะไดกรดไขมันที่ระเหยไดที่สําคัญ  3  ชนิดโดยขบวนการยอยสามารถแบงออกไดเปน   3  ขั้นตอน

                   ไดแก  ขั้นตอนแรกคารโบไฮเดรตในรูปที่ซับซอนจะถูกยอยไดน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว และ ขั้นตอนถัดมาจะมี

                   จุลินทรียอีกกลุมหนึ่งเปลี่ยนน้ําตาลใหเปน  Pyruvic  Acid   อยางรวดเร็ว    สวนขั้นตอนสุดทาย
                   จะมีจุลินทรียเปลี่ยน  Pyruvate  ใหเปน  กรดไขมันที่ระเหยได ( Volatile  Fatty  Acid ) ที่สําคัญ   3

                   ชนิดไดแก  Acetic  acid  (C2)  ,  Propionic  acid (C3) และ  Butyric  acid (C4)      รวมทั้งกาซ

                   คารบอนไดออกไซด  และ  มีเธน       กรดไขมันที่ระเหยไดที่เกิดขึ้นจะดูดซึมโดยตรงเขาผนังกระเพาะทั้ง

                   Rumen  ,  Recticulum  และ  Omasum  เปนแหลงพลังงานหลักของโค       โดยปกติถาหากโคไดกินอาหาร

                   ที่มีสัดสวนของ  อาหารหยาบ  ตอ  อาหารขนพอเหมาะ  คือ  ประมาณ  50 - 65  ตอ  50 - 35  % แลว
                   กรดไขมันที่เกิดขึ้นจะมี    กรดอะซิติค   ตอ   กรดโปรปโอนิค   คิดเปนอัตราสวนประมาณ  3 : 1

                   ซึ่งเปนสัดสวนที่เหมาะสมชี้ใหเห็นถึงความสมดุลยของจุลินทรียที่ทํางานในกระเพาะรูเมน     แตถาหากให

                   โคกินอาหารขนมากเกินไปจะเกิด Lactic acid  เพิ่มมากขึ้น      ( เปนกรดที่เกิดขึ้นในขั้นตอนระหวางขบวน
                   การเปลี่ยน  Pyruvate  ใหเปน  Propionate )  จุลินทรียชนิดอื่น ๆ ทนไมไดทําใหขบวนการเปลี่ยน Lactate

                   เปน  Propionate  ลดลง    ขณะเดียวกันก็จะมีการดูดซึมกรด  Lactic เขาผนังกระเพาะรูเมนและกระแสเลือด

                   ทําใหเลือดมีสภาพเปนกรด     เกิดโรค  Acidosis  ,   กีบอักเสบ ( Laminitis ) ,   กินอาหารลดลง
                   และผลผลิตน้ํานมลดในที่สุด     ดังนั้นวิธีปองกันปญหานี้จึงควรจัดสัดสวนอาหารขน และ อาหารหยาบ

                   ใหโคกินคิดเปนน้ําหนักแหงไมเกิน    65   ตอ   35  %       หรือหากมีความจําเปนตองใชอาหารขนสูงกวานี้

                   เนื่องจากอาหารหยาบมีคุณภาพต่ําจําเปนตองใชโซเดียมไบรคารบอเนต ( NaHCO3 )       ผสมในอาหารขน
                   ประมาณ    1.5 %  หรือใหโคกินเสริมวันละประมาณ  100 - 150  กรัม        เพื่อเปนตัวปรับสภาพความเปน

                   กรด- ดางในกระเพาะรูเมน ( Buffer )         และอาจใชเทคนิคในการใหอาหารรวมดวยคือแบงอาหารขนให

                   บอยครั้งขึ้น       สําหรับรายละเอียดจะกลาวตอไปในหัวขอการจัดสัดสวนและการใหอาหารโคนม

                        2.  การยอยโปรตีนในกระเพาะรูเมน

                        โปรตีน แบงออกเปน  2  ชนิดตามลักษณะการยอยในกระเพาะหมักดังนี้
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65