Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          49



                   ปรับสภาพความเปน    กรด - ดาง  ( pH )   ของกระเพาะรูเมนใหอยูประมาณ   5.8  -  6.5      ซึ่งเหมาะสม

                   สําหรับการทํางานของจุลินทรีย   สวนที่เปนของเหลวและอาหารที่ละเอียดจะตกลงดานลางเพื่อที่จะเคลื่อน
                   ไปยังกระเพาะสวนถัดไป    สวนอาหารที่ยังเปนชิ้นหยาบจะลอยอยูดานบนเพื่อขยอกออกมาเคี้ยวเอื้องใหม

                          2.   กระเพาะรังผึ้ง  ( Recticulum )

                              อยูดานหนาของกระเพาะรูเมนมีความจุประมาณ  5  – 10  %      ของกระเพาะรวม    มีผนังกั้น
                   ระหวางกระเพาะรูเมนเรียกวา       Recticulo - rumen  fold       และกระเพาะสวนนี้บางครั้งมักจะเรียกรวม

                   กับกระเพาะรูเมนวา     Recticulo – rumen          เนื่องจากกระเพาะทั้งสองสวนนี้มีการหมักยอยอาหารโดย

                   จุลินทรีย        นอกจากนี้จะเห็นไดวากระเพาะสวนนี้จะอยูในตําแหนงที่ใกลกับหัวใจและถาหากโคกินวัสดุ

                   แปลกปลอมเขาไปเชน      เศษลวดมัดหญา     เหล็ก    ตะปู      ก็จะเคลื่อนตัวผานรูเมนมาตกคางอยู
                   ในกระเพาะสวนนี้    จึงมักมีการกรอกแมเหล็กแกโคเพื่อดูดเศษเหล็กเหลานี้ไวไมใหแทงทะลุผนังกระเพาะ

                   ผานกระบังลมตามแรงบีบของกระเพาะไปยังหัวใจ   ทําใหเกิดโรคที่เรียกวา “ Hardware  Disease “

                   เกิดการอักเสบในชองทอง ( Peritonitis )  ทําใหโคตายได
                          3.  กระเพาะสามสิบกลีบ  ( Omasum )

                              มีความจุประมาณ     10 - 15  %   ของกระเพาะรวม      ซึ่งกระเพาะทั้งสามสวนนี้บางทีเรียกวา

                   กระเพาะสวนหนา ( Fore  Stomach )   ภายในประกอบดวยเนื้อเยื่อแผนบาง  ๆ  ประมาณ  90 - 190
                   กลีบขนาดไมเทากันเรียงซอนกันอยู     ทําหนาที่ดูดซึมน้ํา  แรธาตุ  ตลอดจนบดอาหารใหเปนชิ้นเล็ก ๆ

                   กอนที่จะไหลผานเพื่อไปยอยโดยน้ํายอยที่กระเพาะแท ( Abomasum )  และ ลําไสเล็กตอไป

                          4.   กระเพาะแท  ( Abomasum )

                              เปนกระเพาะสวนสุดทายมีความจุประมาณ   13  %      ของกระเพาะรวม ทําหนาที่ผลิตน้ํายอย
                   ออกมายอยอาหารเหมือนสัตวกระเพาะเดี่ยวทั่วไป     โดยผนังของกระเพาะจะผลิตน้ํายอย ( Gastric  Juice )

                   ซึ่งประกอบดวย  กรดเกลือ , Pepsin และ  Rennin  โดยยอย โปรตีนใหเปน Peptides  กอนที่จะไหลไปยอย

                   เปน Amino  acid  ที่ลําไสเล็ก

                   การยอยอาหารในโคนม
                          อาหารที่โคกินเขาไปประกอบดวยโภชนะตาง  ๆ  ซึ่งจะถูกยอยโดยจุลินทรียในกระเพาะสวนหนา


                   ในสภาพไรออกซิเจน     สวนอาหารที่ไมถูกยอยโดยจุลินทรียรวมทั้งตัวจุลินทรียเองซึ่งเปนแหลงโปรตีน
                   ของโคจะเคลื่อนตัวตอไปที่กระเพาะแทและลําไสเล็ก  และ  จะถูกยอยโดยน้ํายอยเชนเดียวกับการทํางานใน

                   กระเพาะ

                        1.  การยอยคารโบไฮเดรตในกระเพาะหมัก

                          คารโบไฮเดรตในอาหารแบงออกไดเปน   2   ประเภทใหญ ๆ  ไดแก

                              •  คารโบไฮเดรตที่เปนโครงสรางของพืช  ( Structural  Carbohydrates  )
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64