Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          45



                   ความสําคัญของอาหารหยาบ ??

                          อาหารหยาบ ( Roughages )   เปนอาหารหลักของโคนมซึ่งเปนสัตวกระเพาะรวม    มีเยื่อใยสูง    มี

                   การยอยสวนใหญโดยจุลินทรียในกระเพาะหมัก ( rumen )   เมื่อโคกินอาหารหยาบ  หรือ  ขณะเคี้ยวเอื้อง

                   โคจะมีการหลั่งน้ําลายจํานวนมากซึ่งมีฤทธิ์เปนดางออน ๆ  ( pH  7 – 8 )      ชวยปรับความเปนกรดเปนดาง
                   ในกระเพาะหมักใหเหมาะสม ( เปนกรดออน ๆ pH 5.8 – 6.5 )  ตอการยอยและสรางอาหารของจุลินทรีย

                          อาหารหยาบอาจแบงออกเปน    2     กลุมตามวัตถุประสงคของการปลูกไดแก   พืชอาหารสัตว

                   สําหรับปลูกเปนอาหารโคโดยตรง  ซึ่งกลุมนี้จะมีคุณภาพดีในแงของคุณคาทางอาหารสําหรับโคนม   ไดแก

                   ตนขาวโพด   หญาชนิดตาง ๆ    ถั่วชนิดตาง ๆ เปนตน         สวนอีกกลุมไดแก   วัสดุเหลือใชการเกษตร

                   และ วัสดุเหลือใชจากโรงงาน  ซึ่งกลุมนี้มักจะมีคุณภาพยังไมดีนัก  จําเปนตองมีการปรุงแตง กอน  เชน  ฟาง
                   ขาว    เปลือกและซังขาวโพดหวานจากโรงงาน ( อมน้ํามาก )  เปนตน

                   รูปแบบของฟารมโคนมแยกตามการผลิตและใชอาหารหยาบ


                          ฟารมโคนมของเกษตรกรสามารถแบงออกไดเปน   3   กลุมใหญตามรูปแบบของการผลิตและใช
                   อาหารหยาบดังนี้

                            1.  ระบบที่มีการผลิตอาหารหยาบพอเพียง ( Conventional  Feed  System )  ไดแกฟารมโคนม

                   ที่มีเนื้อที่ปลูกพืชอาหารสัตวพอเพียงตอจํานวนโคนมในฝูงตลอดป     โดยใชพืชสด  หรือ  พืชหมัก (
                   ขาวโพดหมัก ) เลี้ยงในฤดูฝน    และสามารถสํารองในรูปของพืชหมัก และ หญาแหง  สําหรับเลี้ยงโคในฤดู

                   แลง     ซึ่งถาหากมีคณะทํางานที่ดีก็สามารถวางแผนการใชผลิตและใชอาหารหยาบที่มีคุณภาพไดแนนอน

                   สงผลใหผลผลิตน้ํานมคอนขางคงที่ตามศักยภาพทางพันธุกรรม   ตัวอยางเชน   ฟารมโชคชัย   ซึ่งปจจุบัน
                   ฟารมลักษณะแบบนี้คอนขางหายาก     เนื่องจากพื้นที่ดินมีราคาแพงไมเหมาะสมในเชิงธุรกิจสําหรับซื้อเพื่อ

                   ปลูกพืชอาหารสัตวสําหรับเลี้ยงโค

                            2.  ระบบที่มีการผลิตอาหารหยาบบางสวน ( Partial  Conventional  Feed  System )     ไดแก

                   ฟารมโคนมที่มีพื้นที่ผลิตพืชอาหารสัตวไมพอเพียงตอจํานวนโคนมในฟารม      สวนใหญจะมีหญาสด
                   พอเพียงในฤดูฝน  หรือ  อาจไมพอเพียง      สวนในฤดูแลงจําเปนตองใชวัสดุเหลือใชจากโรงงาน

                   อุตสาหกรรมเกษตร หรือ วัสดุเหลือใชจากการเกษตรซึ่งมีคุณภาพต่ําเชน  ฟางขาว    ทําใหโคนมอาจให

                   ผลผลิตต่ํากวาความสามารถทางพันธุกรรม         ซึ่งฟารมโคนมสวนใหญในประเทศไทยอยูในกลุมนี้

                   ดังนั้นโครงการนาหญา   ของกรมปศุสัตวจึงมีความเปนไปไดอยางสูงในการสงเสริมใหเกษตรกรเพาะปลูก
                   ผลิตพืชอาหารสัตวที่มีคุณภาพแกเกษตรกรผูเลี้ยงโคนม  โดยเฉพาะในฤดูแลง

                            3.  ระบบที่ไมมีการผลิตอาหารหยาบ  ( Non  Conventional  Feed  System )  ไดแกฟารมโคนม

                   ที่ไมมีพื้นที่ในการผลิตพืชอาหารสัตวเลย   จําเปนตองใชวัสดุเหลือใชจากโรงงาน  หรือ  การเกษตร  เพียง
                   อยางเดียว  เชน  ใชเปลือกขาวโพดฝกออน  เปลือกและซังขาวโพดหวาน   ฟางขาวเปนตน     ซึ่งลักษณะ

                   ฟารมโคนมกลุมนี้มีจํานวนไมมาก     สวนใหญจะเปนฟารมโคขุน    ปญหาที่สําคัญคือตองมีการนําวัสดุ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60