Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          41



                   การประเมินคุณคาทางโภชนะของอาหารโค

                            คุณภาพของอาหารโคนมทั้งอาหารหยาบหรืออาหารขน       สามารถประเมินในเบื้องตนไดโดย

                   วิธีทางกายภาพซึ่งตองอาศัยประสบการณ  เชน  การดูสี  กลิ่น  ความออนนุม  สวนประกอบของใบและตน

                   แตวิธีที่นิยมใชกันมากไดแกวิธีทางเคมีที่เรียกวา  วิธีวิเคราะหโดยประมาณ ( Proximate  Analysis )  ซึ่งจะ
                   วิเคราะหคุณคาทางโภชนะอาหารออกเปน   6   ชนิดไดแก

                                 1.   วัตถุแหง  ( Dry  Matter  )  หรือ รายงานเปนความชื้น ( Moisture )

                                 2.   โปรตีนหยาบ  ( Crude  Protein )

                                 3.   ไขมันหยาบ  ( Ether  Extract )
                                 4.   เยื่อใยหยาบ  ( Crude  Fiber )

                                 5.   แรธาตุ  ( Ash )

                                 6.   แปง และ น้ําตาล  ( Nitrogen  Free  Extract , NFE )


                                                       อาหารโค





                          ความชื้น ( Moisture )                                 วัตถุแหง ( Dry  Matter )





                                         โปรตีน             ไขมัน             เยื่อใย              แรธาตุ                  NFE

                                               หยาบ               หยาบ            หยาบ




                                  แผนผังแสดงคุณคาอาหารที่วิเคราะหแบบ Proximate  Analysis


                          สําหรับอาหารหยาบซึ่งเปนอาหารหลักของโค       การวิเคราะหหาปริมาณเยื่อใยหยาบ (  Crude

                   fiber )  แบบ   Proximate  Analysis   มีขอบกพรองบางประการ  คือ  สวนที่เปนโครงสรางของพืชบางสวน

                   เชน  Hemicellulose , Lignin , Pectin     จะละลายมาอยูในสวนของ NFE     ทําใหไดคาที่ไมถูกตอง
                   นอกจากนี้การวิเคราะหดังกลาวยังไมสามารถแยกสวนประกอบของผนังเซลพืช  (Cell  Wall ) ได     ดังนั้น

                   ในปจจุบันการวิเคราะหเยื่อใยของอาหารหยาบจึงนิยมใชวิธีที่เรียกวา   Detergent  Analysis วิธีนี้พัฒนาโดย
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56