Page 46 -
P. 46
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
36
โคตัวอื่นขี่โคตัวที่ยืนขางหนา ( มีจุดดํา )
ซึ่งเปนโคที่เปนสัดซึ่งเลยระยะเปนสัดนิ่งแลว
ไมยอมใหโคตัวอื่นขี่
การจัดการฝูงโคสาวทองและโคสาวทองขณะคลอดลูก
โคสาวเมื่อผสมเทียมแลว ถาไมมีการกลับสัดควรมีการลวงตรวจทองทางทวารหนัก ( Rectal
palpation ) โดยผูที่มีความชํานาญ ประมาณ 60 วันนับจากวันผสม หรือ ผูที่มีประสบการณและความ
ชํานาญมากอาจสามารถตรวจทองที่ประมาณ 45 วัน โคสาวในระยะนี้ใหอาหารขน และ อาหารหยาบ
ตามปกติ เหมือนโคสาวทั่วไป จนถึงทองประมาณ 7 – 8 เดือนจึงมีการเพิ่มอาหารขนเนื่องจากลูกโคใน
ทองระยะนี้มีการเจริญเร็วมาก ( ดูจากจัดสัดสวนอาหาร บทที่ 5 น้ําหนักโค 400 กิโลกรัม ) ตามปกติโค
นมตั้งทองประมาณ 280 วัน ทั้งนี้อาจมีการคลอดกอน หรือ หลังไดประมาณ 10 วัน โคสาวทองอาจ
มีการบวมน้ํา ( Edema ) เมื่อทองประมาณ 8 เดือนเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของรางกายในการพัฒนาเตา
นมแตถามีการบวมน้ํามากอาจตองงดแรธาตุที่มีเกลือลงเพราะเมื่อโคสาวทองคลอดลูกอาจทําใหผลผลิต
น้ํานมนอยกวาปกติ สําหรับปญหาอีกประการหนึ่งไดแกการคลอดยากเนื่องจากลักษณะรางกายของโค
สาวเอง ไดแก กระดูกเชิงกรานแคบ ลูกโคมีขนาดใหญและอยูในตําแหนงผิดทา โคสาวมีขนาดเล็กกวา
ปกติ หรือ อาจเนื่องมาจากพอพันธุที่ใหลูกตัวใหญ ดังนั้นจึงควรมีการเฝาระวังขณะแมโคสาวคลอดลูก
ซึ่งสังเกตจากทาคลอดปกติ และ ผิดปกติตาง ๆ ซึ่งจําเปนตองชวยเหลือดังนี้
รูปภาพที่ 4 – 4 อุปกรณสําหรับดึงลูกโค
ขณะคลอด
- โซ หรือ เชือก สําหรับผูกขาลูกโค
- น้ํายาฆาเชื้อ สําหรับลางบริเวณ
ปากชองคลอด
- - น้ํายาหลอลื่น หรือสบูเหลวสําหรับ
- ทาบริเวณศีรษะลูกโค ในกรณีที่
น้ําเมือกลูกโคคอนขางแหง