Page 43 -
P. 43
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
33
4. มีน้ําเมือกใสเหนียวไหลออกจากชองคลอด โดยเฉพาะขณะที่โคไลโดดขี่ตัวอื่นๆ หรือขณะ
นอนพัก
ชวงเวลาที่เหมาะสมในการผสมเทียม
ระยะที่โคเปนสัด ( Estrous ) จะนานประมาณ 15 – 18 ชั่วโมงซึ่งเปนคาเฉลี่ย แตขอมูลจริงอยู
ระหวางตั้งแตนอยกวา 8 ชั่วโมง ถึง 30 ชั่วโมง ซึ่งเปนคาเฉลี่ยในเขตหนาว สําหรับในเขตรอนชื้น
แบบประเทศไทยไดมีการดําเนินงานวิจัย โดยปราณี และ คณะ (2538 ) ในฟารมโคนมพันธุโฮลสไตนฟรี
เชี่ยนใน ป 2537 – 2538 ศึกษาพฤติกรรมการเปนสัดของแมโครีดนมตลอด 24 ชั่วโมงในชวงที่มีอากาศ
แหง ( ฤดูหนาว ) ระหวางเดือน ธันวาคม - มกราคม เปรียบเทียบกับชวงรอนชื้น ( ฤดูฝน) ระหวางเดือน
กรกฎาคม – สิงหาคม เลี้ยงในโรงเรือนปลอยอิสระที่มีซองนอน ( Loosing barn with free stall ) พรอม
กับมีลานดิน ( Exercise yard ) ที่รองดวยทรายและแกลบ เก็บตัวอยางน้ํานมสัปดาหละ 2 ครั้งเพื่อหา
ระดับฮอรโมน โปรเจสเตอโรน โปรไฟล สรุปขอมูลดังนี้
ฤดูแลง ฤดูฝน
รายการ ( Cool – dry season ) ( Hot – humid season )
Median ( range ) Median ( range )
ระยะกอนการเปนสัด ( ชั่วโมง ) 3.5 ( 0 – 14.5 ) < 1 ( 0 – 23.5 )
( Proestrous )
ระยะเปนสัด ( ชั่วโมง ) 5.7 ( 0.1 – 15.7 ) < 1 ( 0 – 10.9 )
( Estrous )
ระยะคลายเปนสัด ( ชั่งโมง ) < 1 ( 0 – 24.9 ) < 1 ( 0 – 14 )
( Metestrous )
จากขอมูลในสภาพภูมิอากาศรอนชื้นแบบประเทศไทย โครีดนมแสดงอาการเปนสัดคอนขาง
สั้น และมีความแปรปรวนคอนขางสูง จึงแสดงเฉลี่ยในรูปของคา มัธยฐาน ( Median ) พบวาในฤดูหนาว
ประสิทธิภาพในการสังเกตุการเปนสัดตลอด 24 ชั่วโมงโดยคน เทากับ 90 % และในฤดูฝนเทากับ 75 %
เมื่อเปรียบเทียบกับ โปรเจสเตอโรน โปรไฟลในน้ํานม ดังนั้นความถี่ของการเฝาสังเกตุการเปนสัดจึงเปน
เรื่องที่สําคัญโดยควรเฝาสังเกตุการเปนสัดอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ๆ ละ 1 – 2 ชั่วโมงในตอนเชา และ
ตอนเย็น
เวลาที่เหมาะสมสําหรับการผสมเทียมควรอยูในชวงกลางของการเปนสัด จน ถึงประมาณ 10
ชั่วโมง นับจากโคเริ่มยืนนิ่ง หรือ ในทางปฏิบัติเกษตรกรอาจพลาดชั่งโมงที่โคเริ่มยืนนิ่ง จึงควรใช
หลักการผสมเชา บาย ก็ไดผลดีเชนเดียวกัน ( รูปภาพที่ 4 – 2 )