Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          29



                          3.  การตัดหัวนมเกิน ( Extra teat ) ลูกโคนมบางตัวมีหัวนมเกิน 4 หัว ซึ่งไมมีประโยชนจึงสมควร

                   ตัดเมื่อลูกโคอายุไมเกิน  3  เดือน โดยใชกรรไกรที่สะอาดตัดและทาดวยทิงเจอรไอโอดีน
                          4.  การสูญเขา ( dehorning ) ในการเลี้ยงโคนม ซึ่งตองมีการปฏิบัติอยางใกลชิดตอโค เชน การรีด

                   นม   การผสมเทียม เปนตน ผูเลี้ยงอาจไดรับอันตรายจากโคไดโดยเฉพาะโคนมลูกผสม ซึ่งบางตัวดุ จําเปน

                   ที่ผูเลี้ยงตองมีการทําลายปุมเขา ตั้งแตลูกโคยังเล็ก ๆ ซึ่งมีหลายวิธี เชน การถูดวยแทงโซดาไฟ การจี้เขาดวย
                   เหล็กรอน หรือไฟฟา เปนตน

                          สําหรับการทําลายปุมเขาโดยวิธีงาย ๆ โดยใชปูนแดงผสมสบูกรด จํานวนเทา ๆ กัน หรือ ปูนแดง

                   และโซดาไฟผสมกันในอัตราสวน 2  ตอ 1  คนใหเขากันจนเหนียวเปนครีมเหมือนยาสีฟนเก็บใวใน

                   กระปองพลาสติคและแบงมาปายบริเวณปุมเขาลูกโคอายุภายใน  14   วันแรกโดยใชกรรไกรตัดขนบริเวณ
                   ขอบปุมเขาและอาจใหวาสลินทารอบ ๆ ปุมเขาแลวใชครีมจํานวนเทาปลายนิ้วกอยทาบริเวณปุมเขาและควร

                   ระวังอยาใหครีมแฉะเกินไปจนไหลเขาตาลูกโค หรือ ไหลโดนบริเวณใบหนาลูกโคเพราะจะเกิดเปนแผลได

                   สวนการใชเหล็กรอน สามารถทําไดเมื่อลูกโคมีอายุมากขึ้น เชนประมาณ  2 – 4  เดือนโดยมีวิธีการทําดังนี้
                          1. ใชกรรไกรตัดขนรอบ ๆ ปุมเขาเพื่อใหสามารถเห็นฐานเขาไดชัดเจน

                          2. ใชมีดตัดปลายเขา ( ในกรณีที่ลูกโคมีปุมเขาเกิน 1/2 ซ.ม. )

                          3. ใชเหล็กรอนจี้บริเวณปุมเขาเพื่อหามเลือดและทําลายเซลเขา
                          4. ใชทิงเจอรไอโอดีน ทาปองกันการติดเชื้อโรคพรอมทั้งยาเนกาซัน และวาสลิน






                   ตารางที่ 3 – 5 ปญหาสําคัญที่อาจพบในการเลี้ยงลูกโคระยะกินนมและแนวทางแกไข



                             รายการ                         สาเหตุ                     การปองกันและแกไข

                   1. สะดืออักเสบ   และ อาจลุกลาม   - ติดเชื้อทางสายสะดือ  ขณะคลอด   - ลูกโคควรคลอดในที่สะอาด และควร
                     ทําใหขอขาบวมอาจจะ  1 - 4 ขา      เนื่องจากคอกคลอดไมสะอาด  หรือ      จุมสะดือดวยทิงคเจอรไอโอดีน
                      ( Navel  infection )  ลูกโคที่ขอขา      ไมไดจุมสะดือดวยทิงคเจอรไอโอดีน   - ลูกโคตองกินนมน้ําเหลืองโดยเร็ว

                     บวม  ลุกไมไดสวนใหญมักตาย   -  ลูกโคไมไดกินนมน้ําเหลืองหรือ กิน   - ในกรณีที่จะใชน้ํานมจากแมโคที่เปน
                     ดวยโรคแทรกซอน               ชา  ทําใหไมมีภูมิคุมกัน      เตานมอักเสบลวน ๆ ควรมีการตม

                                                - ลูกโคกินนมที่มาจากเตานมอักเสบ      ฆาเชื้อกอน
                                                  จํานวนมากทําใหติดเชื้อทางปาก  โดย   -รักษาสะดือดวยทิงคเจอรและยาเนกาซัน
                                                  เฉพาะลูกโคที่อายุนอยกวา   1   เดือน     หรือ อาจจําเปนตองใชยาปฏิชีวนะ

                                                  มักพบปญหานี้มากกวาลูกโคระยะอื่น
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44