Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          31



                                                           บทที่  4


                                                การเลี้ยงและการจัดการโคสาว





                   การจัดการโคหยานม  ถึง อายุผสมพันธุ

                          โครุนหลังหยานมเปนระยะที่กระเพาะหมัก ( Rumen )  มีการพัฒนาพรอมที่จะเปนสัตวกระเพาะ

                   รวมคือโคสามารถกินและยอยอาหารหยาบได    แตเนื่องจากยังมีความจุจํากัดคือประมาณ  50  %  ของ
                   กระเพาะทั้งหมดเมื่อเปรียบเทียบกับแมโคที่โตเต็มจะมีความจุกระเพาะหมักถึง 70 %   ดังนั้นเกษตรกรจึง

                   ควรมีการเสริมอาหารขนที่มีโปรตีนประมาณ 16 - 18  %  ตัวละ  2 – 4  กิโลกรัม ขึ้นกับคุณภาพของอาหาร

                   หยาบ( ดูบทที่  5 การจัดสัดสวนอาหารโครุนที่มีน้ําหนัก 150 - 350  กิโลกรัม ) และยังไมควรมียูเรียใน
                   อาหารแตควรรอถึงโครุนมีอายุมากกวา  6  เดือน   แตปญหาที่สําคัญคือเกษตรกรสวนใหญมักใหอาหารขน

                   โปรตีนคอนขางต่ํา คือเพียง  12 – 16  % และใหในปริมาณที่นอย   รวมทั้งมักนําไปเลี้ยงรวมกับฝูงโคสาวที่

                   มีขนาดใหญกวาทําใหโครุนที่หยานม  จน  ถึงอายุประมาณ   6   เดือน   กินไมทันโคสาวที่มีอายุมากกวา
                   ประกอบกับปญหาสุขภาพที่มักเกิดกับโคระยะนี้ไดแก  พยาธิทางเดินอาหาร และ ตาอักเสบ   ทําใหโคมี

                   น้ําหนักและอัตราการเจริญเติบโตต่ํา   ขนหยอง    ระบบเตานมที่ตองมีการเจริญพัฒนาอยางรวดเร็วในชวง

                   อายุ  3  -  9  เดือนตองชะงักลงอันเนื่องมาจากไดรับอาหารไมพอเพียง   สงผลใหผสมติดชา และใหผลผลิต
                   น้ํานมต่ํากวาความสามารถทางพันธุกรรมเมื่อคลอดลูก    ดังนั้นโคในระยะนี้จึงควรแยกเลี้ยงแบงออกเปน  3

                   กลุม  ไดแกโครุนอายุ  3  -  6  เดือน  ,  โครุนอายุ  6 – 12   เดือน  และ โคสาวอายุ  1  ป  ถึงผสมพันธุ

                   น้ําหนักและอายุโคสาวที่เหมาะสมในการผสมพันธุ

                          สําหรับเกษตรกรที่มีการจัดการใหอาหารฝูงโคสาวอยางมีประสิทธิภาพ     ทําใหโคสาวมีการ

                   เจริญเติบโตอยางเหมาะสม   โคสาวพันธุโฮลสตฟรีเชี่ยนจะะแสดงอาการเปนสัดครั้งแรกเมื่ออายุเฉลี่ย

                   ประมาณ  8  -  10  เดือน แตเกษตรกรยังไมควรผสมพันธุควรรอจนโคสาวมีอายุประมาณ  15  -  18  เดือน
                   และมีน้ําหนักประมาณ  280 – 300  กิโลกรัมสําหรับโคนมพันธุไทยฟรีเชี่ยน  และ  น้ําหนักประมาณ   350

                   กิโลกรัมสําหรับโคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยน      แตสําหรับเกษตรกรที่มีการจัดการใหอาหารต่ํากวาความ

                   ตองการของโคทําใหโคสาวมีน้ําหนักนอยกวา  250  กิโลกรัมจึงควรพิจารณาชะลอการผสมพันธุจนโคสาว

                   อายุประมาณ  2  ปเพื่อหลีกเลี่ยงปญหา   การคลอดยากและแมโคทรุดโทรมหลังคลอดอยางรวดเร็ว
                   รอบการเปนสัดในโคสาว ( Estrous  cycle )  ( รูปภาพที่  4 – 1 )


                          โคสาวเมื่อเริ่มเขาสูวัยเจริญพันธุ (Puberty )          อิทธิพลของฮอรโมนจากตอมใตสมองสวนหนา
                   ( Anterior  Pituitary  Gland )    ที่สรางฮอรโมนกระตุนการพัฒนาของรังไข ( Follicular  Stimulating

                   Hormone , FSH )   และ ฮอรโมนที่ทําใหไขตก ( Lutenizing  Hormone ,  LH )  รวมทั้งฮอรโมนที่สรางจาก
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46