Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          42



                   นักวิทยาศาสตรชื่อ  Van   Soest     ซึ่งจะสามารถแยกสวนประกอบของผนังเซลพืชไดแก  Cellulose

                   Hemicellulose  และ  Lignin   ซึ่งสารเหลานี้น้ํายอยของโคยอยไมไดแตจุลินทรียสามารถ ยอยได  ยกเวน
                   Lignin   ดังนั้นการที่ทราบสวนประกอบของผนังเซลเหลานี้ก็จะทําใหทราบคุณคาทางอาหารของพืชอาหาร

                   สัตวตาง ๆ   ไดละเอียดยิ่งขึ้น

                          สําหรับสวนของเยื่อใยในอาหารโดยเฉพาะอาหารหยาบ    จะเปนแหลงที่ใหพลังงานแกโคโดยการ
                   หมักของจุลินทรียในกระเพาะหมัก   รวมทั้งถาหากเยื่อใยมีชิ้นยาวไมนอยกวา  1  นิ้วจะเปนการชวยใหโคมี

                   การเคี้ยวเอื้องไดดีขึ้น    นั่นหมายถึงโคมีการหลั่งน้ําลายซึ่งมีฤทธิ์เปนดาง  ออน  ๆ  ปนติดมากับเยื่อใยเมื่อ

                   กลืนลงไปจะทําใหความเปนกรดเปนดาง ( pH ) ในกระเพาะหมักเปนกรดออน ๆ ประมาณ     5.8 – 6.5

                   ซึ่งเหมาะสมกับการทํางานของจุลินทรียในการยอยสลายอาหารตาง  ๆ  รวมทั้งขบวนการสังเคราะหอาหาร
                   ขึ้นมาใหม        สําหรับในสวนเยื่อใยที่เปนคารโบไฮเดรตนั้นผลการวิเคราะหตามวิธี  Detergent   Method

                   จะแสดงผลในรูปของ  ผนังเซล ( Cell  Wall )  หรือเรียกตามสารละลายที่ใชในการวิเคราะหวา   Neutral

                   Detergent   Fiber ( NDF )  ซึ่งประกอบดวย   เฮมิเซลลูโลส ( Hemicellulose )  ,  เซลลูโลส ( Cellulose )
                   และ ลิกนิน ( Lignin )  สวนเยื่อใยอีกชนิดหนึ่งเรียกชื่อตามสารที่ใชในการวิเคราะหวา  Acid  Detergent

                   Fiber ( ADF )  ซึ่งประกอบดวย  เซลลูโลส  และ  ลิกนิน  ซึ่งทั้ง  NDF   และ  ADF  จะใชเปนตัวกําหนดเยื่อ

                   ใยในการคํานวณและจัดสัดสวนอาหารโคตอไป


                    ตารางที่ 5 – 1 เปรียบเทียบสวนประกอบทางเคมีของอาหารหยาบระหวางการวิเคราะห

                                                       แบบ Proximate    &    Detergent  Analysis


                      วิธี Proximate                 สวนประกอบทางเคมี                      วิธี  Detergent

                           Analysis                             ทางเคมีของอาหาร                              Analysis


                         เถา ( Ash )(1)                  Soluble  Ash              สารที่อยูในเซล

                        ไขมัน ( Ether  Extract )               Lipids  ,  Pigments  etc.                    (  Cell  Contents )
                         โปรตีน ( Crude  Protein )             Protein   ,  NPN  , etc.
                                                      Sugars  ,  Starch  ,  Pectin

                          NFE                         Hemicellulose
                                                      Alkali - soluble                       ผนังเซล ( Cell  Wall )

                                                              Lignin                 Acid  Detergent     Neutral  Detergent
                        เยื่อใย ( Crude  Fiber )              Alkali  - insoluble                    Fiber ( ADF )       Fiber  ( NDF )
                                                   Cellulose

                         เถา (Ash ) (2)                 Insoluble  Ash ( Silica )



                     ที่มา.  P.T.  Chandler  ( 1978 )  อางโดย William M. Etgen  et al . Dairy  Cattle  Feeding  and  Management
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57