Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          47



                          4.  อาหารหยาบคุณภาพต่ํา      โปรตีนนอยกวา  5  %  และ / หรือ พลังงาน ( TDN ) ประมาณ  50 -

                   53  %  หรือ  นอยกวา 50 %  เชนฟางขาว    ลําตนแกมีลิกนินมาก   ตัวอยางอาหารหยาบเหลานี้ไดแก
                          4.1. ฟางขาว
                          4.2. หญาแกตัดที่อายุมากกวา  90  วัน  หรือ  หญาหลังเก็บเมล็ด     มีลักษณะสีเขียวอมเหลือง   แก   หญาบางพันธุ

                   เมล็ดลวงแลว
                                 a.  เปลือกฝกขาวโพดแหงหลังเก็บเมล็ด

                          4.4.  ตน , ใบ และ ฝกถั่วเหลืองแหงหลังเก็บเมล็ดแกแลว
                   การวางแผนและคํานวณการใชอาหารหยาบในฟารม


                          ปจจัยที่จําเปนสําหรับการคํานวณการใชอาหารหยาบไดแก    ความตองการอาหารหยาบสําหรับโค
                   และ พื้นที่แปลงพืชอาหารสัตวและผลผลิต  ตามรายละเอียดดังนี้

                          1.  จํานวนโคนมในฟารมและความตองการอาหารหยาบของโค       จํานวนโคนมแตละชนิดใน

                              ฟารมสามารถคํานวณใหเปน  หนวยปศุสัตว ( Animal  Unit )  ดังนี้

                                         แมโค         1      ตัวเทากับ            1      หนวยปศุสัตว
                                          โคสาว        1      ตัวเทากับ            0.7    หนวยปศุสัตว

                                           ลูกโค < 1 ป 1     ตัวเทากับ            0.3    หนวยปศุสัตว

                          แมโค  1  ตัว กินอาหารรวม ( อาหารขน + อาหารหยาบ )ไดคิดเปนน้ําหนักแหงประมาณ    3  %
                   ของน้ําหนักตัว       คือประมาณ     ( 3 x  500 / 100  )    =   15   กิโลกรัมน้ําหนักแหง     คิดเปนสวนของ

                   อาหารหยาบประมาณ     2 /3    คือประมาณ   10   กิโลกรัมน้ําหนักแหง


                            แมโค  1  ตัว หรือ 1  หนวยปศุสัตวกินอาหารหยาบคิดเปนน้ําหนักแหงวันละ  10 กิโลกรัม



                          2.  พื้นที่และผลผลิตพืชอาหารสัตวที่ปลูก

                          โดยทั่วไปหญาในเขตรอนจะใหผลผลิตเฉลี่ยประมาณ    2,000  -  3,000  กิโลกรัม น้ําหนักสดตอ
                   การตัด  1  ครั้ง ตอ ไร ยกเวนหญาที่ใสปุยทั้งมูลโคและวิทยาศาสตรอาจใหผลผลิตสูงกวานี้ หรือ บางแปลง

                   ที่กอหญาหาง ๆ อาจใหผลผลิตเพียง  1,500  กิโลกรัม  และในแตละปตัดไดในฤดูฝนประมาณ  3 –  4   ครั้ง

                   ( แตละครั้งหางกัน  45 – 50  วัน )


                          หญา 1 ไร  ตัดในฤดูฝนรวม   4  ครั้ง  ไดผลผลิตน้ําหนักสดรวม   10,000   กิโลกรัม (DM25%)

                          หรือหญา  1  ไรตัดในฤดูฝนรวม   4  ครั้ง  ไดผลผลิตน้ําหนักแหงรวม  2,500  กิโลกรัม
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62