Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          48



                    ตัวอยางการคํานวณและวางแผนการใชอาหารหยาบในฟารม

                          เกษตรกรรายหนึ่งมีจํานวนโคนมรวม   91  ตัว คิดเปน  72.3 = 73 หนวยปศุสัตว  ดังนี้

                                 แมโค                 50            ตัว     =    50  หนวยปศุสัตว

                                 โคสาวทอง             11            ตัว     =    7.7  หนวยปศุสัตว
                                 โคสาวผสมพันธุ        14            ตัว     =    9.8  หนวยปศุสัตว

                                 โคอายุ < 1  ป        16            ตัว     =    4.8  หนวยปศุสัตว

                     มีจํานวนแปลงหญารูซี่จํานวน  60  ไรตัดสดใหกิน  ถามวาเกษตรกรตองจองหญาโครงการนาหญาและ

                     ฟางขาวจํานวนกี่ฟอน  จึงจะพอเพียงกับโค
                          1.  ตองทราบความตองการของโค      จํานวนโครวมคิดเปน 73    หนวยปศุสัตว   กินอาหารหยาบ

                     หนวยปศุสัตวละ    10  ก.ก.น้ําหนักแหง / วัน  รวม  1  ป  ตองการอาหารหยาบ   73   x  10  x  365   =

                     266  ตัน  น้ําหนักแหง
                          2.  ผลผลิตอาหารหยาบที่ผลิตไดเอง   จากพื้นที่  60  ไร  =  2,500  x  4  x  60  =  600   ตัน น้ําหนัก

                     สด หรือ คิดเปน  น้ําหนักแหง            =  ( 25  x 600 / 100 )

                                                             =  150 ตัน น้ําหนักแหง

                          3.  จํานวนอาหารหยาบที่ตองซื้อเพิ่ม   =  266  -  150    =    116   ตัน  น้ําหนักแหง
                                 หรือคิดเปนน้ําหนักหญาแหง ที่จะซื้อ    เทากับ   =    (100 x 116 / 85 )    ตัน

                                                                                                                     =    136      ตัน (  6,800  ฟอน )

                              ( คํานวณ หญาแหงทั่วไปมีน้ําหนักแหง  85  %  หนักประมาณฟอนละ  20  กิโลกรัม )

                   ระบบทางเดินอาหารที่สําคัญของโคนม
                          ระบบทางเดินอาหารของโคนมซึ่งเปนสัตวกระเพาะรวม มีลักษณะใกลเคียงกับสัตวกระเพาะเดี่ยว


                   ทั่วไปยกเวนในสวนของกระเพาะหมักซึ่งมีจุลินทรียในการยอยอาหาร   สำหรับในครั้งนี้จะเนนรายละเอียด
                   ทางเดินอาหารเฉพาะในสวนของกระเพาะโคเทานั้นซึ่งมีขนาดใหญโดยกินเนื้อที่ประมาณ   75 % ของชอง

                   ทองและเอียงอยูชิดมาทางผนังลําตัวดานซาย    ซึ่งแบงออกเปน   4  สวนไดแก

                        1.  กระเพาะผาขี้ริ้ว  ( Rumen )
                              เปนสวนของกระเพาะสวนที่ใหญที่สุดมีความจุประมาณ  75  -  80   %     ของกระเพาะอาหาร

                   โดยในโคที่โตเต็มที่อาจมีความจุประมาณ   150     ลิตร             ผิวกระเพาะดานในมีลักษณะเปนตุมยื่นยาว

                   ประมาณครึ่งนิ้วคลายขนของผาเช็ดตัวซึ่งเรียกวา     Papillae     ท ำหนาที่ชวยคลุกเคลาและเพิ่มพื้นที่ในการ
                   ดูดซึมโภชนะอาหาร     โดยเฉพาะกระเพาะ  2  สวนแรก  ( Recticulo - rumen )  มีการทํางานโดยจุลินทรีย

                   ทั้งการยอยเยื่อใย ,  คารโบไฮเดรตและอื่น ๆ  รวมทั้งการสังเคราะหโปรตีน  และ  วิตามินที่ละลายไดในน้ํา

                   โดยอาหารจะถูกคลุกเคลาใหเขากันโดยการบีบตัวของผนังกระเพาะ      อาหารที่อยูกระเพาะดานหนาจะถูก

                   ขยอกมาที่ปากเพื่อเคี้ยวเอื้องใหละเอียดมากขึ้น     และคลุกเคลากับน้ําลายแลวกลืนลงไปใหมซึ่งจะเปนการ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63