Page 77 -
P. 77

ุ
                                               ์
                                                                               ั
                                                              ิ
                                                   ิ
                                            ิ
                                ื
           โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                   ิ
                                                                                                        51


                                                                                        ื
                       บันดาลใจจากประติมากรรมยุคโบราณสโตนเฮนต  และสุสานชาวอเมริกันพื้นเมอง  ในปจจุบันผลงาน
                                                           ื
                       ชิ้นนี้ยังสามารถมองเห็นไดจากการใชเครื่องมอขยายในกูเกล แมพ (google map)
                                                                      ิ
















                       ภาพที่ 2.6 Double Negative               ภาพที่ 2.7 Serial Project I (ABCD)
                       หมายเหตุ. จาก doublenegative.tarasen.net/      หมายเหตุ. จาก wikiart.org/en/sol-lewitt/
                       double-negative                          serial-project-1-abcd-1966

                              เคราสนิยามสิ่งทไมใชสถาปตยกรรม  (not  –  architecture)  ไปสูนิยามของสถาปตยกรรม
                                           ี่
                                             
                                                                                                      ี
                       (architecture) วา Axiomatic structures เปนการสรางงานขึ้นในพื้นที่จริงของสถาปตยกรรม มการ
                               ี่
                       ขยายพื้นทของลักษณะงานทแตกตางไปจากที่เคยเห็น  เคราสยกตัวอยางงานของซอล  ลีวิท  (Sol
                                              ี่
                                                                                                        ี่
                       Lewitt) กับผลงานที่ชื่อวา Serial Project I (ABCD) ในป ค.ศ. 1966 โครงการนี้มีผลงานหลายชุดทม ี
                       การจัดวางแตกตางกันไป ซงเปาหมายในการสรางงานของศิลปนคือตองการผสมผสานและการรวมตัว
                                             ึ่
                                                                               
                       ของทั้งรูปทรงเปดและปดของสี่เหลี่ยมจตุรัสและลูกบาศก  รวมถึงสวนที่เปนองคประกอบอื่นของการ
                                                                     
                       เกิดขึ้นของรูปทรงดังกลาวที่วางอยูบนตาราง  ซึ่งถือเปนการสรางขอบเขตการมองเห็นของผูชมในงาน

                                                                      ั
                                         ึ
                       ศิลปะและผูชมไดเห็นถงความเปนไปไดในตรรกะของการทบซอนของรูปทรงทั้งสี่เหลี่ยมจตุรัส  และ
                       ลูกบาศก  งานประเภทนี้เปนการสรางโครงสรางจริงใหเกดขึ้นเปนรูปธรรมที่เปนนิยามระหวางความ
                                                                       ิ
                              
                       เปนและไมเปนสถาปตยกรรม  ในความหมายที่โครงสรางภายนอกดูเหมือนสถาปตยกรรมแตไมไดม ี
                                                                                                      
                       หนาที่แบบสถาปตยกรรม แตกลับสรางความหมายบางอยางจากแนวคิดของศิลปนที่สรางสรรคขึ้นมา
                                                                     ิ
                                                                      ั
                                               ี่
                              พื้นที่การแสดงออกทอยูระหวางนิยามของทังภูมทศน  (landscape)  และสถาปตยกรรม
                                                                  ้
                       (architecture) ที่เคราสใชคำวา Site – construction คือ การประกอบสรางขึ้นของโครงสรางในการ
                               
                       สรางสรรคผานทั้งพื้นที่และความหมายที่สัมพันธกับแนวคดในพื้นที่นั้นๆ   โดยยกตัวอยางสวนญี่ปุน
                                                                      ิ
                                                                            ี่
                       (Japanese gardens) ที่เปนทั้งภูมิทัศนและสถาปตยกรรม พื้นททางพิธีกรรมและกระบวนการที่มีมา
                                                                                               ี
                       ตั้งแตอารยธรรมโบราณ    ซึ่งเปนการรับรูโดยไมตองสงสัยถึงขอบเขตของกิจกรรมที่มความสัมพันธ
                                                           
                                                                                           ่
                          ั
                                                                                             ี
                                ั
                       ซึ่งกนและกน (Krauss, 1979, 30 – 44) เคราสยังยกตัวอยางผลงานแลนดอารต ทีมชื่อวา Partially
                                                                           ่
                       Buried Woodshed ในป ค.ศ. 1970 ของโรเบิรต สมิธสัน ทีศิลปนเลือกพื้นที่ทอยูในมหาวิทยาลัย
                                                                                          ี่
                       เคนส สเตท (Kent State University) บริเวณโรงเก็บฟนเกาๆ ทถูกทงราง โดยจางรถแบ็คโฮขนดิน
                                                                                 ิ้
                                                                             ี่
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82